การใช้เวลาสื่อสารของชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-ลาว


งานวิจัยนี้มีข้อค้นพบระบบการสื่อสาร 2 ระบบ คือ ระบบการสื่อสารท้องถิ่นดั้งเดิมผ่านช่องทาง “บวร” คือ บ้าน วัด และโรงเรียน และระบบการสื่อสารโดยไอซีที ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ และวิทยุ ซึ่งระบบการสื่อสารท้องถิ่นดั้งเดิมโดยคนจะปิดบัง และทับซ้อนระบบการสื่อสารไอซีทีอยู่ ระบบการสื่อสารทั้งสองระบบนี้จะมีการหมุนเวียน เคลื่อนที่ เลื่อนไหลอย่างเป็นระบบ

ระบบการสื่อสารของชุมชนมีองค์ประกอบ 4+1 ด้าน (SMCR+P เป็น SMCRP) รวมเป็น 5 ด้าน คือ

  1.      ด้านผู้ส่งสาร (Sender หรือ S)
  2.      ด้านสื่อหรือข่าวสาร (Media (M) หรือ Massage (M))
  3.      ด้านช่องทางการส่งสาร (Chanel หรือ C)
  4.      ด้านผู้รับสาร (Receive หรือ R)
  5.      ด้านกระบวนการ (Procedure หรือ P) คือ กระบวนการในการใช้เวลาเพื่อการสื่อสารของชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ไทย-ลาว ประกอบด้วย

               5.1    การสื่อสารโดยคนในชุมชนพื้นที่ในลักษณะเป็นการสื่อสารแบบเผชิญหน้า ได้แก่ “บวร”  คือ บ้าน วัด และโรงเรียน

               5.2    การสื่อสารโดยไอซีที ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ และวิทยุ

               5.3    กระบวนการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมการสื่อสาร

หมายเลขบันทึก: 517099เขียนเมื่อ 22 มกราคม 2013 12:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 สิงหาคม 2014 08:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท