Silent
นักศึกษากิจกรรมบำบัด ณกรณ์ ปาร์แมน ปาสุวรรณ

ความบกพ่องทางจิตสังคมที่ต่างกันใน วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ในมุมของกิจกรรมบำบัด


การพัฒนาทางจิตสังคมของมนุษย์ ตามหลัก ทฤษฏีของแอริคสันได้ว่า ''พัฒนาการทางจิตวิทยาของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับโครงสร้างทางกายภาพร่างกาย มุมมองของแอริคสันจึงเน้นพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมร่วมกัน '' โดยการพัฒนาทางด้านจิตสังคมนั้นสามารถแบ่งเป็นช่วง ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งอายุ80ปีได้เป็น8 ช่วงดังนี้

ขั้นที่ 1 Trust vs. Mistrust (การเชื่อใจและความไม่ไว้วางใจ)

ขั้นที่ 2 Autonomy vs. Shame and Doubt (การเป็นตัวของตัวเองและความละอาย)

ขั้นที่ 3 Initiative vs. Guilt (ความรู้สึกผิดและการคิดลิเริ่ม)

ขั้นที่ 4 Industry vs. Inferiority (ความขยันและความคิดแง่ลบต่อตนเอง)

ขั้นที่ 5 Identity vs. Role Confusion (ความเปป็นอัตตราลักษณ์และไม่แน่ชัดในบทบาทของตน)

ขั้นที่ 6 Intimacy vs. Isolation (การมีปฏิสัมพันธ์และความรู้สึกโดดเดี่ยว)

ขั้นที่ 7 Generativity vs. Self absorption/ Stagnation (การเผื่อแผร่และการเห็นแก่ตัว)

ขั้นที่ 8 Integrity vs. Despair (ความมั่นคงในชีวิตและความสิ้นหวังในชีวิต)

ดังนั้นความบกพ่องทางร่างกายและสมองดังจึงส่งผลต่อการพัฒนาการทั้งทางด้านร่างการและจิตสังคม

โรคที่เกี่ยวข้องในวัยผู้ใหญ่และสูงอายุที่เกี่ยวข้อง

 1. Mood disorder

                  2. Dementia

                  3. Schizophrenia

                  4. Personality  disorder

                  5. Substance abuse

   การประเมิน มีแบบประเมินหลากหลายในการประเมินทั้งในผู้สูงอายุละวัยผู้ใหญ่ อย่างเช่น แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ,แบบประเมินสติปัญญา(Cognition) ,แบบประเมินความผาสุขในโรคเลื้อยลังของผู้สูงอายุเป็นต้น

อิงตามทฤษฏีพัฒนาการจิตลังคมของ แอริคสัน

ในช่วงอายุ 36 – 59 ปี เริ่มเข้าสู่วัยกลางคน ร่างกายเริ่มมีกายเปรี่ยนแปรและเริ่มมีการเสริ่มของร่างกาย เช่นโฮโมนในด้านสังคมส่วนมากมีครอบครัวมีลูกต้องเตรียมตัวต่อบทบาทที่เพิ่มขึ้นมาใหม่เช่น การเป็นพ่อแม่ ในอีกด้านอาจถึงช่วงที่สังคมเปรี่ยนแปรงจากสังคมการทำงานของตนกลายเป็นวัยเกษียณอายุงานด้านอารมณ์ก็ จะเริ่มเปรี่ยนแปรง อาจมีหงุดหงิดบ้าง โมโหบ้างขึ้นๆ ลงๆ สลับกันไป ควรส่งเสริมในด้านของการเตรียมพร้อม สู่สิ่งใหม่ ที่จะเกิดขึ้นเช่น ร่างกาย บริบท บทบาทหน้าที่ จนกระทั้งกิจกรรมต่างๆในชีวิต

ในช่วงอายุ 60 – 80 ปี นั่นคือ เข้าสู่วัยชราเป็นช่วงสุดท้ายของพัฒนาการนี้ ด้านร่างกายมีการเสริ่มถอยอย่างเห็นได้ชัด มักมีปัญหาด้านสุขภาพเป็นง่ายหายช้า ปัญหาทางด้านความคิดความจำช้าและหลงลืมในเรื่องที่เพิ่งเกิด(ความจำระยะสั้น) แต่ในเรื่องที่เกิดนานแล้ว(ความจำระยะยาว)มีความเป็นปกติดีในวัยนี้มีความต้องการทางความมั้นคงทางด้านจิตใจ จิตวิญญาณ มีการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตที่ลดลง บางท่านอาจกลัวที่จะทำในสิ่งต่างๆสิ่งที่ควรส่งเสริม คือการทำกิจกรรมยามว่างอย่างมีคุณค่า ,ด้านของจิตใจ,การมีปฏิสัมพันธ์ กับผู้อื่น การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ หรือจนกระทั่ง การปรับดัดแปรงสภาพบ้านด้วย

สิ่งที่ควรส่งเสริมในผู้รับบริกการวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุทางด้านจิตสังคมมีดังนี้

-ส่งเสริมการควบคุมอารมณ์ของตนเอง

-การทำกิจวัตรประจำวันการดูแลตนเอง

-การทำกิจกรรมยามว่างให้มีคุณค่า

-ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมกลุ่ม สังคม รวมถึงกระทั่งชุมชน

-ส่งเสริมตวามคิดเชิงบวกต่อตนเองและผู้อื่น

-ส่งเสริมด้านการเตรียมพร้อมสู่การเสียชีวิต

หน้าที่ของกิจกรรมบำบัด เน้นในด้านของการประเมินความสามารถทั้งทางกายและทางจิตใจของผู้รับบริการ ส่งเสริมทักษะในด้านต่างๆให้ดีขึ้นจนสามารถทำกิจกรรมที่มีเป้าหมายและคุณค่าอย่างมีความสุข จัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้รับบริการทั้งด้าน ร่างกาย ความสามารถ บริบท ความชื้นชอบ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการ อาจมีการประเมินสภาพสิ่งแวดล้อมของการทำกิจกรรมหรือที่บ้าน เพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมของผู้รับบริการให้มีความมั้นใจในการทำกิจกรรม ในเรื่องของสิ่งต่างๆเช่น ความปลอดภัย เป็นต้น แล้วจะมีการประเมินซ่ำหรือการติดตามผลของผู้รับบริการคนนั้นๆ อีกด้วย


                                                                                         

หมายเลขบันทึก: 516119เขียนเมื่อ 13 มกราคม 2013 19:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 กรกฎาคม 2013 23:54 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท