Project management


การบริหารโครงการ

ตัวแบบตรรกะพื้นฐาน (Basic logic Model)

Program Delivered

การดำเนินโครงการ

 

Result From Program

ผลการดำเนินโครงการ

 

  ผู้รับประโยชน์

  Immediat outcome

ทฤษฎีโครงสร้าง (Program Theory)

The if then

กรณีที่ 1 ถ้ามีทรัพยากรพร้อมเราสามารถให้บริการได้

กรณี 2 ถ้าประชากรได้รับการอบรมประชากรจะมีความรู้

กรณี 3 ถ้าประชากรมีความรู้ทักษะก็จะเปลี่ยนแปลงตนเองได้

ถ้าประชาชนเกิดการเปลี่ยนเปลี่ยนตนเองก็จะทำให้เกิดผลกระทบในวงกว้างได้

3 Appraches :Describe ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง  Prescribe ทำหน้าที่อย่างไร

Policy scientific approach เป็นการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการและวิเคราะห์เงือนไขข้อตกลงเบื้องต้นต่างๆที่สันนิษฐานว่าจะทำให้โครงการดำเนินไปได้ ด้วยการทบทวนหลักฐานทางวิชาการและความเห็นชอบของผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้อง

Strategic Asseement approachเป็นการวิเคราะห์โครงการจากความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับประโยชน์

Elicitation approacเป็นการวิเคราะห์โครงการจากกรอบแนวคิดของผู้เขียนโครงการเปรียบเทียบกับการทบทวนวรรณกรรมแนวคิดเชิงทฤษฎีและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ก่อนสร้าง logic Model

การสร้าง logic model เป็นกระบวนการและขั้นตอนสำคัญที่ผู้บริหารโครงการควรมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในกระบวนการสร้าง

ระมัดระวังหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์ทางเทคนิค (Technical jargon)

ไม่รวบรัด ต่อเนื่องทบทวนอยู่เสมอเป็นระยะๆโดยเฉพาะเมื่อบริบทเปลี่ยน พยายามทำให้ Logic model เป็นวัฒนธรรมองค์กร

ขั้นตอนในการสร้าง logic model

1.  เก็บรวบรวมข้อมูลและข้อสนเทศที่เกี่ยวข้อง

2.  อธิบายสภาพปัญหาที่โรงการจะเข้าแก้ไข พร้อมทั้งบริบทโครงการ

3.  จัดทำตารางส่วนประกอบของตัวแบบโครงการ

4.  สร้างตัวแบบโครงการจากส่วนประกอบ

5.  ตรวจสอบเพื่อยืนยันความถูกต้องของตัวแบบโครงการ

1.  เก็บรวบรวมข้อมูลและข้อสนเทศที่เกี่ยวข้อง

รวบรวมข้อมูลเอกสาร สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับโครงการ เริ่มจากผู้ออกแบบโครงการ ผู้ปฏิบัติงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้รับประโยชน

สร้างคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์โครงการโดยเฉพาะโครงการ

2.  อธิบายสภาพปัญหาที่โรงการจะเข้าแก้ไข พร้อมทั้งบริบทโครงการ

ค้นหาปัจจัยที่อาจตกหล่น

วิเคราะห์สาเหตุ และรากเหง้าของปัญหา ระบุให้ชัดเจน

ระบุกิจกรรมสำคัญของโครงการที่จะขจัดสาเหตุของปัญา เปรียบเทียบโครงการอื่นในการแก้ปัญหาประเภทเดียวกัน

พิจารณาความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ

ปรับปรุงภาษาที่ใช้ อาจใช้วิธีแตกข้อย่อยให้เข้าใจง่ายขึ้นก็ได้

3.  จัดทำตารางส่วนประกอบของตัวแบบโครงการ

ระบุปัจจัยด้านบริบทที่อาจจะมีอิทธิพลต่อการดำเนินโครงการ

ระบุชื่อที่อยู่ของหน่วยงานอื่น ที่เข้ามาร่วมงาน

วิเคราะห์ภาวะคุกคามที่เนื่องมาจากบริบท เช่น อัตราการลาออกสูง นโยบายเปลี่ยนแปลง

วิเคราะห์โอกาสที่อาจเป็นประโยชน์ต่อโครงการ

ระบุผู้ที่อยู่หน่วยงานอื่นที่จะเข้ามาร่วมงาน และที่อาจส่งผลต่อการดำเนินโครงการ

ค้นหาปัจจัยที่อาจตกหล่น ที่อาจมีอิทธิพลต่อผลของโครงการ และควรคาดประมาณขนาดของผลด้วย

จำแนกประเภทข้อสนเทศ จัดทำตารางไว้ให้ผลอยู่ต่างกัน

ระบุผู้รับประโยชน์และคาดประมาณขนาดของผลที่เกิดขึ้นในแต่ละกลุ่ม

เรียงลำดับ outcome

วิเคราะห์ความเชื่อมโยงตามตรรกะของสาเหตุและผล

ตรวจสอบความสัมพันธ์กับโครงสร้างกับโครงการอื่นๆที่อาจเกี่ยวข้องกันในทุกทิศทาง ทุกมิติ

รวบรวมส่วนประกอบและกิจกรรมให้เหลือเฉพาะกลุ่มหลัก (5-7กลุ่มหลัก)

4.  สร้างตัวแบบโครงการจากส่วนประกอบ

1)  เริ่มจากการเชื่อมต่อส่วนที่ง่ายที่สุด เก็บส่วนที่ยากและซับซ้อนไว้ทำทีหลัง

2)  ใช้ความพยายาม ปกติจะต้องร่างและแก้ไขปลายครั้งจึงจะ “เข้าท่า”

3)  ควรทำหลายตัวแบบ ที่แตกต่างในระดับรายละเอียด กลุ่มกิจกรรม ตัวชี้วัด ผู้มี่ส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มต่างๆ มุมมองและแนวคิดที่แตกต่างๆฯลฯ

4)  ไม่ควรมีคำอธิบาย พรรณนาแบบยาว (อาจแยกไว้ในส่วนขยายอื่นๆ)

5)  เน้นหลักผลที่จะเกิดขึ้นภายนอกโครงการ (ผลภายในให้แยกส่วนไว้)

6)  ไม่ควรรวมผังองค์กรในตัวแบบ (ถ้าจำเป็นให้แยกส่วนไว้)

5.  ตรวจสอบเพื่อยืนยันความถูกต้องของตัวแบบโครงการ

ใช้ If-Then

ปัญหาที่พบบ่อย

1)  ใช้เวลานานเกินไป (พวก Perfectionist)

2)  แพงเกินไป(ควรวิเคราะห์ Cost ในแต่ละขั้นตอนโดยละเอียด)

3)  ตรงเกินไป too linear (พิจารณาการแตกส่วนย่อย และกิจกรรมคู่ขนาน)

4)  โลกทัศน์แคบ (ควรหาผู้ร่วมแลกเปลี่ยน ไม่ใช่ผู้รับคำสั่ง)

การวิเคราะห์โครงการ แบบ Log framework approach

แสดงให้เห็ฯถึงความสัมพันธืกันอย่าง

11

12

13

14

แนวคิดพื้นฐานในการสร้างตัวแบบตาราง

  Gold

  Purpose 

    Output

Input

  Assumtion 

ในแนวราบ

คำบรรยายสรุป (Narrative Summaeize)

ดัชนีชี้วัดหรือตัวบ่งชี้

วิถีทางการพิสูจน์  (Mean of varian MOV

เงือนไขความสำเร็จ คือ Important Assumtion IA

การบริหารโครงการ

ฐานคติที่สำคัญ

1.แหล่งที่มาของโครการ

คำนึงถึงผลของโครงการหรือของแผนงานที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว

ฐานคติที่สำคัญ

การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ

ฐานคติที่สำคัญ

ฐานคติที่สำคัญ

ค่าใช้จ่ายที่จะใช้ในโครงการ

การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ

ฐานคติที่สำคัญที่จะก่อให้เกิดการบรรลุถึงผลสำเร็จในการกระทำให้ได้แต่ละผลงาน (out put)ของโครงการ

การวิเคราะห์โครงการโดยอิงกระบวนการบริบท CIPP

แบบจำลองการประเมินกระบวนการบริบท

บริบท

Context

ปัจจัยนำเข้า  กระบวนการ  ผลผลิต

Input   Process  Output

ทิศทางของนโยบายการเปลียนแปลงในระดับมหภาครวมทั้ง Model ต้นแบบหรือแบบจำลองที่เป็นต้นแลล

การประเมินกระบวนการ พิจารณา 3 ประเด็น

ผู้บริหารโครงการได้พิจารณาแล้วว่าขั้นตอนการดำเนินโครงการ

ยุทธวิธีในการประเมินต่างๆ อาจจะบอกถึงข้องจำกัดต่างๆ ที่อาจมีหรือไม่มีในกระบนการต่างๆได้

วิธีการทั่วไปอาจจะให้เกณฑ์

ในระยะหลังมีการพยายามแยกผลงานออกระหว่าง Product แยกเป็น Output และ Out come

Output ผลที่เกิดขึ้นทันที่โครงการสิ้นสุด

Outcome คือผลที่เกิดขึ้นในการติดตามมาในลักษณะที่เป็นต่อเนื่องที่ตามมา

ต้องระมัดระวังเนื่องจากว่าในกระบวนการที่ทำให้เกิด outcome

การวิเคราะห์แบบ

Context

Input process output

    Input    Process  output

      Input  Process  Output

  Preparation  Intervention  Post Intervention

 

System analytic   

องค์ประกอบของการวิเคราะห์แบ่งออกเป็นทั้งหมด 8 ส่วน

ส่วนที่ 4 เป็นกิจกรรมโครงการ

ส่วนที่ 5 ผลที่เกิดขึ้นทันทีหลังดำเนินกิจกรรมโครงการ

ส่วนที่ 6 กิจกรรมที่อาจเกิดขึ้น

ส่วนที่ 7 คือผลที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 8 คือบริบทที่ครอบคลุมระหว่างการดำเนินกิจกรรมเป็นการวิเคราะห์บริบทหภาพ

วิเคราะห์ข่ายงาน

กิจกรรมของงาน

กิจกรรมของงาน

 

1.   


เส้นทึบต้องมีกิจกรรม

เส้นโปร่งทิ้งระยะก็จะไปด้วยตอนเองได้

วงกลมสีดำแทน Situation

เส้นสีดำเสดง Activity

AOA Activity on arrow

1

ในการวิเคราะห์กิจกรรมมี 2 งาน

งานหรือกิจกรรมทุกชนิดในโครงการซึ่งจะเป็นต้องใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการดำเนินงาน

เหตุการณ์แลกิจกรรมนี้จะต้องเขียนสัญลกษณ์แทนมักจะใช้สูตร

ขั้นตอการวิเคราะห์ข่ายงานมีขั้นตอนสำคัญ 4 ประการ

ขั้นตอนที่ 1 พิจารณาตัวโครงการแล้วแยกออกเป็นกิจกรรม ย่อยๆตามความเหมาสม

ขั้นตอนที่ 2 เรียงลำดับกิจกรรมที่ 2 วิเคราะห์กิจกรรมแบบเครือข่าย

ขั้นตอนที่ 3 นำความสัมพันธ์ ของกิจกรรมในขั้นที่ 2 มาสร้าง ข่ายงานระบบ AOA

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบข่ายงาน

คำสำคัญ

โครงการหมายดุง

กิจกรรมหรืองาน หมาดถึง การปฏิบัติตัวหรือกรร

งาน Dummy หรืองานหลอกหมายถึงงานเริ่มต้นหรือการเสร็จสิ้นของงานหนึ่งงานใดหรือหลายงาน ณ ตำแหน่งเวลาขณะในขณะนั้นหนึ่ง (A point in time)

ขอบข่ายงานในโครงการ คือกลุ่มของวงกลมเชื่อมต่อกันด้วยเส้นลูกศรซึ่งลูกศรเหล่านี้แสดงความสัมพันธ์ของวงกลมต่างๆ

สายงาเป็นรายว

การผปสน

ภาพผสมผสานของกา

ประเมิน Formative ปร

นอกเหนือจากการวิเคราะห์โครงการแล้วยังต้องคำนึงถึง

โครงสร้าง องค์กร บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ

ทรัพยากร

ทรัพยากรมนุษย์

งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เทคนิควิธีการ

การควบคุมและประเมิน

ปริมาณ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย

ประเมินระว่างดำเนินการ ประเมินรวบยอด

วาแป็นไห

การดำเนินโครงการและการที่๕งการเ

ประเมินนี้

Stage

Key Question

ความแตกต่างของโครงการมีผลต่อการประเมิน

·  พื้นที่โครงการ

·  ขนาดโครงการ

·  ระยะเวลา

·  ความชัดเจน

·  ความซับซ้อน

·  ช่วงเวลา

·  ความคิดริเริ่ม

คำสำคัญ (Tags): #project management
หมายเลขบันทึก: 514034เขียนเมื่อ 25 ธันวาคม 2012 09:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 มกราคม 2013 11:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท