Seminar in Occupational Therapy II


การศึกษาปี 4 เทอม 2 นักศึกษากิจกรรมบำบัดได้ศึกษา วิชา Seminar in Occupational Therapy IIเป็นการสัมมนาร่วมกับอาจารย์และเพื่อนในชั้นเรียน โดยการนำความรู้วิจัย (Journals) ที่ได้ศึกษามานำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถนำความรู้มาปรับประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติงานกิจกรรมบำบัด

ดิฉันนำเสนองานวิจัยในหัวข้อเรื่อง

“ Development of a Community Mobility Skills Course for People Who Use Mobility Devices ”

Kimberly A. Walker, Kerri A. Morgan, Carrie L. Morris, Keri K. DeGroot,Holly H. Hollingsworth, David B. Gray

Accepted  for publication : July/August  2010

อ้างอิง

Kimberly A. Walker, Kerri A. Morgan, Carrie L. Morris, Keri K. DeGroot,Holly H. Hollingsworth and David B. Gray. Development of a Community Mobility Skills Course for People Who Use Mobility Devices. [online].The American Journal of Occupational Therapy.  Retrieved December 3,2012 from http://ajot.aotapress.net/content/64/4/547.full.pdf+html

จุดประสงค์

·  การศึกษาในกลุ่มทดลองขนาดเล็ก เพื่อประเมินผู้รับบริการที่ใช้อุปกรณ์ในการเคลื่อนที่ อาศัยอยู่ในชุมชน ดังนี้ power wheelchair, manual wheelchair, scooter, cane ,crutch, and walker

·  เปรียบเทียบการฝึก Community mobility skills course กับ Inside mobility skills course

วิธีขั้นตอน

ผู้รับบริการเข้าร่วม 6 คน โดยใช้อุปกรณ์ในการเคลื่อนที่ต่างกัน ได้รับการฝึก Inside mobility skills course ก่อนเพื่อเป็นพื้นฐานของ Community mobility skills course การประเมินใช้การบันทึกเวลา (วินาที)

ผู้เข้าร่วมคนที่ 1: เพศหญิง อายุ 40 ปี ,  ใช้  power wheelchair , การวินิจฉัย : C5- SCI

ผู้เข้าร่วมคนที่ 2: เพศชาย อายุ 57 ปี , ใช้ manual wheelchair , การวินิจฉัย : T7 -SCI  

ผู้เข้าร่วมคนที่ 3: เพศหญิง อายุ 42 ปี , ใช้scooter , การวินิจฉัย : athetoid cerebral palsy 

ผู้เข้าร่วมคนที่ 4: เพศหญิง อายุ 28 ปี , ใช้ quad cane  , การวินิจฉัยโรค :multiple sclerosis

ผู้เข้าร่วมคนที่ 5: เพศชาย อายุ 35 ปี , ใช้  single forearm crutch , การวินิจฉัยโรค: ceebral palsy

ผู้เข้าร่วมคนที่ 6: เพศหญิง 63 ปี , ใช้ walker , การวินิจฉัยโรค : arthritis




ผลสรุปในการศึกษา

·  ผู้รับบริการทั้ง 6 คน สามารถฝึกการเคลื่อนที่ใน Community mobility skills course ได้ผลที่รวดเร็ว และส่วนมากสามารถใช้เวลาในแต่ละฐานได้รวดเร็วกว่า  Inside mobility skills course

·  พบว่าในการฝึก Community mobility skills course และ Inside mobility skills course

ส่งผลให้ผู้รับบริการมีความสามารถในการเคลื่อนที่ได้ดีขึ้นใน Power wheelchair เกือบ 100%, crutch เกือบ 90%, scooter และ cane 75% , manual wheelchair 60%

ข้อจำกัดในการศึกษานี้

·  ผู้เข้าร่วมการศึกษามีจำนวนน้อย

·  การประเมินโดยการบันทึกเวลา(วินาที)ยังไม่มาตรฐานในการศึกษานี้

จากการศึกษาในงานวิจัยนี้ ทำให้ทราบถึงบทบาทนักกิจกรรมบำบัด ในการฝึกกิจวัตรประจำวันด้านการเคลื่อนที่ในบริบทที่อยู่อาศัยของผู้รับบริการ เพื่อส่งเสริมทักษะความสามารถของผู้รับบริการ ซึ่งนักกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยยังไม่มีการระบบการฝึกฐานจัดเป็น setting เหมือนในวิจัยนี้

ดิฉันได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติงานในการลงชุมชนเยี่ยมผู้รับบริการที่บ้าน และโดยส่วนมากผู้รับบริการมีความต้องการที่จะสามารถเคลื่อนย้ายตนเองไปในที่ต่างๆได้ด้วยตนเอง ดังนั้นการส่งเสริมทักษะความสามารถด้านนี้ จึงมีความสำคัญอย่างมากที่กิจกรรมบำบัดควรฝึกทักษะการเคลื่อนที่ในบริบทจริงของผู้รับบริการ

หมายเลขบันทึก: 512724เขียนเมื่อ 19 ธันวาคม 2012 21:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 ธันวาคม 2012 21:55 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท