การแพทย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์


การรักษาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์อยู่บนพื้นฐานความเชื่อทางโลกวิญญาณ

การแพทย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์

วัตถุประสงค์

เพื่อนำเสนอแนวทางในการรักษาและแนวคิดเรื่องการเจ็บป่วยของมนุษย์ยุคก่อรประวัติศาสตร์

ooooooooooooooooooooooooo

การดำรงชีวิตของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์

               มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์อาศัยมีการดำรงชีวิตอย่างเร่ร่อน และไม่มีที่พำนักที่แน่นอน การหาเลี้ยงชีพอาศัยการล่าสัตว์เพียงอย่างเดียวในช่วงท้ายของยุคก่อนประวัติศาสตร์จึงเริ่มอาศัยอยู่ในถ้ำ และ มีการใช้ไฟ 


 ภาพการอพยพย้ายที่ของมนุษย์นีแอนเดอทรัล  ภาพการล่าสัตว์และการอยู่อาศัยในช่วงปลายยุคก่อนประวัติศาสตร์


แนวคิดเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วย

แนวความคิดเรื่องโรคภัยเป็นเรื่องของวิญญาณและอำนาจศักดิ์สิทธิ์

                สมัยนั้นยังไม่มีศาสนา มีเพียงแนวความเชื่อทางด้านวิญญาณโดยความเจ็บป่วยนั้นเกิดจากการที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลความเจ็บป่วย(Divine Visitation) การรักษาดำเนินด้วยวิธีการทางเวทย์มนตร์(Magic)โดยชาแมน(Shaman or Medicine Man) ดังนั้นชาแมนนอกจากเป็นศูนย์รวมของสังคม และนอกจากนี้ยังมีบทบาทสำคัญมากในด้านการรักษา

 

วิธีการศึกษาวิธีการรักษาของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ชาแมนของชนเผ่าอะบอริจินิส ในประเทศออสเตรเลีย

               เราสามารถศึกษาได้จากมนุษย์ที่มีรูปแบบการดำรงชีวิตคล้ายกับมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ คือไม่มีภาษาเขียน เช่น ชนเผ่าในแอฟริกา ออสเตรเลีย หรือเกาะปาปัว นิวกินี นอกจากนี้หลักฐานทางมนุษยวิทยาเช่น โครงกระดูก1 และ อุปกรณ์ที่ยังหลงเหลืออยู่ ยังสามารถบ่งชี้วิธีการรักษาของมนุษย์สมัยนั้นได้อีกด้วย

การรักษาโดยทั่วไปเป็นของชาแมนจะใช้กลุ่มการรักษา 3 อย่าง คือ

1. การใช้ธรรมชาติบำบัด เช่น สมุนไพร การพอกแผลกระดูกหักด้วยดินเหนียวแม่น้ำ หรือการใช้ไขมันถูผิวหนังถลอก2

2. การทำสันทนาการ เช่น การเพลง และเต้นรำ ควบคู่ไปกับอุปกรณ์ดนตรี เช่น กลอง ด้วยความเชื่อที่ว่าจะขับอำนาจชั่วร้ายออกจากคนป่วยได้3

3. การผ่าตัด เช่น การเจาะกระโหลก(Trepanning)

ชาแมนใช้กลองเป็นสื่อกลางในการสื่อสารกับวิญญาณ               กลองของชาแมนซามิ(Sami)

การเจาะกระโหลก(Trepanning)

         จากหลักฐานทางมนุษยวิทยาพบว่าการเจาะกระโหลกถูกกระทำขึ้นในขณะที่มนุษย์ผู้นั้นยังมีชีวิตอยู่ หลักฐานทางโบราณคดีพบว่ามีการเจริญของกระดูกงอกใหม่บริเวณรอบรอยเจาะ(burr hole)4 นอกจากนี้ยังพบว่าบางกระโหลกมีรอยเจาะมากกว่าหนึ่งแห่ง ซึ่งนักมนุษยวิทยาลงความเห็นว่า การกระทำเช่นนี้อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดการเจ็บป่วย โดยเชื่อว่าการเจาะกระโหลกเป็นการกำจัดอำนาจชั่วร้ายออกจากตนซึ่งเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย

 

การแพทย์ยุคก่อนประวัติศาสตรที่มีผลต่อรูปแบบการรักษาในปัจจุบัน

        ในปัจจุบันการเจาะกะโหลก(Trepanning)ยังมีใช้อยู่เพื่อรักษาอาการเกิดลิ่มเลือดใต้กะโหลก (epidural or subdural hematomas) นอกจากนี้ยังใช้การเจาะกระโหลกในระหว่างการผ่าตัดทางระบบประสาทอีกด้วย4

        นอกจากการเจาะกะโหลกการใช้สมุนไพรในการรักษายังคงมีอยู่ซึ่งเป็นการแพทย์ทางเลือกซึ่งมีการศึกษาเชิงลึกด้านสรรพคุณ และศึกษาองค์ความรู้ทางเภสัชศาสตร์มากขึ้น

 

เอกสารอ้างอิง       

1. Wikipedia.(Online). Prehistoric Medicine.[Retrieved August 6, 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Prehistoric_medicine].

2. RM.(Online). Prehistoric Medicine.[Retrieved August 7, 2012 from http://www.talktalk.co.uk/reference/encyclopaedia/hutchinson/m0097007.html].

3. Wikipedia.(Online). Shamanism.[Retrieved August 7, 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Shamanism].

4. Wikipedia.(Online). Trepanning.[Retrieved August 8, 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Trepannng].


คณะผู้จัดทำ

543070190-7 นายพชร          คำมี
553070032-6 นายธนภัทร    ต.ศรีวงษ์
553070059-6 นายพุฒิสรรค์    ทัฬหวรงค์
553070006-7 นางสาวกัญฐิมา     เกณทวี
553070031-8 นายธนภพ       วิเศษมงคลชัย
553070066-9 นายภูริณัฐ        ติกขะปัญโญ
553070083-9 นายเอกอาชาน  โควสุภัทร์
553070100-5 นายกิตติภูมิ   โมคาพันธ์
553070178-8 นางสาวพิมพ์ประภา  หมื่นภิรมย์
553070138-0 นายธนพล  แสงผล
553070131-4 นางสาวติณณา  ศิริธร
553070219-0 นายอภิชาต  ประถมบุตร
553070139-8 นาย  ธนวุธิพงศ์  โคตะหา
553070186-9 นางสาว  ภาวินี  ทีฆกุล
553070198-2 นางสาว  วิชชุดา  เสียงเลิศ
553070097-8 นายกษมะ    พลเยี่ยม
553070193-2 นางสาววชิรญาณ์ ราชภักดี
553070250-6 นางสาวชนกนันท์  จารักษ์
553070263-7 นางสาววทันยา   จงวโรทัย
553070230-2 นางสาวนภัส   ลิ้มชูพรวิกุล
คำสำคัญ (Tags): #medicine#Prehistoric
หมายเลขบันทึก: 498233เขียนเมื่อ 11 สิงหาคม 2012 05:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 สิงหาคม 2012 09:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (22)

นับเป็นองค์ความรู้ที่ดีมากครับ อ่านแล้วรู้เรื่องดีมาก

กระทัดรัด อ่านเข้าใจง่ายดีมาก ค่ะ

น่าจะได้อ่านตั้งแต่ก่อนสอบ สั้นๆ แต่ครอบคลุม ^^

เข้าใจมากเลยค่ะ ทำให้รู้โลกกว้างมากขึ้น

เนื้อหากระชับและเข้าใจง่าย เข้าใจถึงความรู้ทางการแพทย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนเลย

เป็นบทความที่มีประโยชน์มากจ้า ทำให้ได้รู้ถึงการแพทย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้อย่างดี รู้ที่มาที่ไปมากขึ้น

เนื้อหาสั้นๆแต่ได้ความรู้ครบถ้วน อ่านแล้วสนุกดี ^^

สั้น กระชับได้ใจความดีจ้า

เนื้อหาสั้นๆ สรุป จดจำง่ายดีครับ

เนื้อหาสั้นเข้าใจง่าย น่าอ่านดีอะ ^~

ทำให้เข้าใจความเป็นมาของสิ่งที่เราเรียนอยู่มากขึ้น เป็นประโยชน์มากค่ะ

น่าทึ่งกับการแพทย์ในสมัยนั้นมากครับ

รูปสวยและเขียนได้กระชับน่าอ่านมากเลย

กระชับและครบถ้วน และน่าสนใจมากๆ

น่าสนใจมากๆเลยค่ะ > < อ่านเพลินดี ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆนะคะ !!

เนื้อหาเข้าใจง่ายดีจัง

ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ

การแพทย์นี่ มีมายาวนานมากจริงๆเละนะเนี่ย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท