รายงานการวิจัย


หลักธรรมที่บัณฑิตใช้ในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง อันดับหนึ่ง ได้แก่ พรหมวิหาร 4 รองลงมาได้แก่ ศีล อิทธิบาท 4 ทศพิธราชธรรม 10 และสังคหวัตถุ 4

บทที่ 4

 

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

 

                        การวิจัยเรื่อง ศึกษาพฤติกรรม คุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิชาเอกการเมืองการปกครอง สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ผลการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้

                        ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

                        ตอนที่ 2 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา วิชาเอกการเมืองการปกครอง

                        ตอนที่ 3 คุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา วิชาเอกการเมืองการปกครอง

 

ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

 

                        คณะผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามของบัณฑิตและผู้บังคับบัญชา จำแนกเป็นตารางดังต่อไปนี้

 

ตารางที่ 4.1 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของบัณฑิต จำแนกตามสถานภาพ

 

สถานภาพ

จำนวน (คน)

ร้อยละ

บรรพชิต

ฆราวาส

87

12

87.9

12.1

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบัณฑิต พบว่า บัณฑิตส่วนใหญ่เป็นบรรพชิต คิดเป็นร้อยละ 87.9

ตารางที่ 4.2 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของบัณฑิต จำแนกตามอายุ

 

อายุ

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ระหว่าง 20-24 ปี

ระหว่าง 25-29 ปี

ระหว่าง 30-34 ปี

ระหว่าง 35-39 ปี

ระหว่าง 40-44 ปี

ระหว่าง 45-49 ปี

ไม่ตอบ

43

32

12

7

2

2

1

43.4

32.3

12.1

7.1

2.0

2.0

1.0

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.2 อายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบัณฑิต พบว่า บัณฑิตส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20-24 ปี  คิดเป็นร้อยละ 43.4 รองลงมาได้แก่ อายุระหว่าง 25-29 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.3

 

ตารางที่ 4.3 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของบัณฑิต จำแนกตามระดับการศึกษา

                    สูงสุด

 

ระดับการศึกษาสูงสุด

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ไม่ตอบ

89

5

5

89.8

5.1

5.1

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.3 ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบัณฑิต พบว่า บัณฑิตส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 89.8

 

ตารางที่ 4.4 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของบัณฑิต จำแนกตามตำแหน่งปัจจุบัน

 

ตำแหน่งปัจจุบัน

จำนวน (คน)

ร้อยละ

พระลูกวัด

ผู้ช่วยเจ้าอาวาส

รองเจ้าอาวาส

เจ้าอาวาส

เลขานุการเจ้าคณะตำบล

อื่น ๆ (ครู, ครูใหญ่, ทหาร พนักงานเอกชน ฯลฯ)

ไม่ตอบ

18

3

1

11

12

15

39

18.2

3.0

1.0

11.1

12.1

15.2

39.4

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.4 ตำแหน่งปัจจุบันของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นบัณฑิต พบว่า บัณฑิตส่วนใหญ่อยู่ในตำแหน่งพระลูกวัด คิดเป็นร้อยละ 18.2

 

ตารางที่ 4.5 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต

        จำแนกตามสถานภาพ

 

สถานภาพ

จำนวน (คน)

ร้อยละ

บรรพชิต

ฆราวาส

89

9

90.8

9.2

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.5 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต พบว่า ส่วนใหญ่เป็นบรรพชิต คิดเป็นร้อยละ 90.8

 

 

 

ตารางที่ 4.6 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต

        จำแนกตามอายุ

 

อายุ

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ระหว่าง 20-24 ปี

ระหว่าง 25-29 ปี

ระหว่าง 30-34 ปี

ระหว่าง 35-39 ปี

ระหว่าง 40-44 ปี

ระหว่าง 45-49 ปี

50 ปีขึ้นไป

9

19

5

12

20

7

27

9.14

19.2

5.1

12.1

20.2

7.1

27.3

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.6 อายุของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 27.3 รองลงมาได้แก่ อายุระหว่าง 40-44 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.7 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต

        จำแนกตามระดับการศึกษาสูงสุด

 

ระดับการศึกษาสูงสุด

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา/ปวช/ปวส

อนุปริญญา

ปริญญาตรี

สูงกว่าปริญญาตรี

ไม่ตอบ

20

17

6

35

18

3

20.2

17.2

6.1

35.4

18.2

3.0

รวม

99

100

 

                        จากตาราง 4.7 ระดับการศึกษาสูงสุดของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต พบว่า ส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 35.4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.8 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของของผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต

        จำแนกตามตำแหน่งปัจจุบัน

 

ตำแหน่งปัจจุบัน

จำนวน (คน)

ร้อยละ

รองเจ้าอาวาส

เจ้าอาวาส

เลขานุการเจ้าคณะตำบล

เจ้าคณะตำบล

รองเจ้าคณะอำเภอ

เจ้าคณะอำเภอ

ผู้อำนวยการ/ผู้จัดการ

อื่น ๆ (อาจารย์ใหญ่, หัวหน้าพนักงาน ฯลฯ)

ไม่ตอบ

2

38

3

7

1

3

5

8

32

2.0

38.4

3.0

7.1

1.0

3.0

5.1

8.1

32.3

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.8 ตำแหน่งปัจจุบันของผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต พบว่า ส่วนใหญ่มีตำแหน่งเจ้าอาวาส คิดเป็นร้อยละ 38.4

 

ตอนที่ 2 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

             วิชาเอกการเมืองการปกครอง

 

                        คณะผู้วิจัยได้ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา วิชาเอกการเมืองการปกครอง สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา จำแนกตามตารางต่อไปนี้

 

 

 

 

ตารางที่ 4.9 ลำดับของการเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

 

ลำดับที่

การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมือง

1

2

3

4

5

การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การเทศนาทางการเมือง

การมีโอกาสไปใช้สิทธิเลือกตั้งและการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง

การให้คำปรึกษาทางการเมือง

การเข้าร่วมประชุม

การให้ความร่วมมือในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง

 

                        จากตารางที่ 4.9 พบว่า การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาเอกการเมืองการปกครอง มากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การเทศนาทางการเมือง รองลงมาได้แก่ การมีโอกาสเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งและรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และการให้คำปรึกษาทางการเมือง ตามลำดับ

 

ตารางที่ 4.10 ลำดับของการเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นฆราวาส

 

ลำดับที่

การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมือง

1

2

3

4

การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง

การติดตามข่าวสารบ้านเมือง

การเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมืองและการให้คำปรึกษา

 

                        จากตารางที่ 4.10 พบว่า การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นฆราวาส ที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาเอกการเมืองการปกครอง มากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง รองลงมาได้แก่ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และการติดตามข่าวสารบ้านเมือง ตามลำดับ

 

 

 

ตารางที่ 4.11 ลำดับของการเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต จากการ

                      สอบถามผู้บังคับบัญชา

 

ลำดับที่

การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมือง

1

2

3

4

5

การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การเทศนาทางการเมือง

การมีโอกาสไปใช้สิทธิเลือกตั้งและการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง

การเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการเลือกตั้ง

การเข้าร่วมประชุม

การติดตามข่าวสารบ้านเมือง

 

                        จากตารางที่ 4.11 พบว่า การเข้าร่วมพฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาเอกการเมืองการปกครอง จากการสอบถามผู้บังคับบัญชา มากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การเทศนาทางการเมือง รองลงมาได้แก่ การมีโอกาสเข้าไปใช้สิทธิเลือกตั้งและรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง และการเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการเลือกตั้ง ตามลำดับ

 

ตารางที่ 4.12 ลำดับของกิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิตเข้าร่วมบ่อยที่สุด

 

ลำดับที่

กิจกรรมทางการเมืองที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด

1

2

3

4

การเข้าร่วมประชุม

การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การให้คำปรึกษา

การให้ความร่วมมือในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง

การติดตามข่าวสารบ้านเมือง

 

                        จากตารางที่ 4.12 พบว่า กิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การเข้าร่วมประชุม รองลงมาได้แก่ การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การเทศนาทางการเมือง และการให้ความร่วมมือในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง ตามลำดับ

 

ตารางที่ 4.13 ลำดับของกิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นฆราวาสเข้าร่วมบ่อยที่สุด

 

ลำดับที่

กิจกรรมทางการเมืองที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด

1

2

3

การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

การติดตามข่าวสารบ้านเมือง

การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง

 

                        จากตารางที่ 4.13 พบว่า กิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นฆราวาส ที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง รองลงมาได้แก่ การติดตามข่าวสารบ้านเมือง  

 

ตารางที่ 4.14 ลำดับของกิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด จากการสอบถาม

                     ผู้บังคับบัญชา

 

ลำดับที่

กิจกรรมทางการเมืองที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด

1

2

3

4

5

การเข้าร่วมประชุม

การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การให้คำปรึกษา

การไปใช้สิทธิเลือกตั้งและการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง

การให้ความร่วมมือในการเลือกตั้งแต่ละครั้ง

การติดตามข่าวสารบ้านเมือง

 

                        จากตารางที่ 4.14 พบว่า กิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เข้าร่วมบ่อยที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ การเข้าร่วมประชุม รองลงมาได้แก่ การเป็นวิทยากร การอบรมสัมมนา การให้คำปรึกษา และการไปใช้สิทธิเลือกตั้งและการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ตามลำดับ

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.15 จำนวนและร้อยละของบัณฑิตที่นำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้ใน

          กิจกรรมทางการเมือง

 

ระดับการนำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้

จำนวน (คน)

ร้อยละ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

ไม่ตอบ

9

22

36

14

6

12

9.1

22.2

36.4

14.1

6.1

12.1

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.15 การนำความรู้ทางการเมืองการปกครองไปใช้ในกิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิต พบว่า บัณฑิตนำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 36.4 รองลงมาได้แก่ นำไปใช้ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 22.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.16 จำนวนและร้อยละของบัณฑิตที่นำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้ใน

          กิจกรรมทางการเมือง จากการสอบถามผู้บังคับบัญชา

 

ระดับการนำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้

จำนวน (คน)

ร้อยละ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

ไม่ตอบ

7

31

37

14

5

5

7.1

31.3

37.4

14.1

5.1

5.1

รวม

99

100

            N = 99

 

                        จากตาราง 4.16 การนำความรู้ทางการเมืองการปกครองไปใช้ในกิจกรรมทางการเมืองของบัณฑิต จากการสอบถามผู้บังคับบัญชา พบว่า บัณฑิตนำความรู้ด้านการเมืองการปกครองไปใช้ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 37.4 รองลงมาได้แก่ นำไปใช้ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 31.3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.17 จำนวน ร้อยละ และเหตุผล พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

          ถ้ามีสิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง

 

กิจกรรมทางการเมือง

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ลำดับเหตุผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

ถ้าท่านมีสิทธิในการเลือกตั้ง

ท่านคิดว่าจะไปใช้สิทธิ

เลือกตั้งหรือไม่

       - ไปใช้สิทธิ

       - ไม่ไปใช้สิทธิ

 

 

 

81

6

 

 

 

93.1

6.9

1. เป็นสิทธิและหน้าที่

2. ต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง

3. แสดงพลังทางการเมือง

4. ต้องการเลือกผู้แทนที่ดีมีความรู้

    ความสามารถ

5. เป็นแบบอย่างที่ดีในระบอบ

    ประชาธิปไตย

รวม

87

100

 

 

            N = 87

 

                        จากตาราง 4.17 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ถ้ามีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง พบว่า   ถ้ามีสิทธิในการเลือกตั้ง ท่านจะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง คิดเป็นร้อยละ 93.1 เหตุผลที่ไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ เป็นสิทธิและหน้าที่ รองลงมาได้แก่ ต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง และแสดงพลังทางการเมือง ตามลำดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.18 จำนวน ร้อยละ และเหตุผล พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

          ถ้ามีสิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง

 

กิจกรรมทางการเมือง

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ลำดับเหตุผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

จำนวนครั้งที่ท่านต้องการ

ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

       - ทุกครั้ง

       - เป็นบางครั้ง

       - ไม่ตอบ

 

 

75

1

11

 

 

86.2

1.2

12.6

1. ใช้สิทธิของตน

2. ต้องการเลือกผู้แทนที่เป็นคนดี

    มีความรู้ความสามารถ

3. ต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง

4. เป็นการแสดงพลังอำนาจอธิปไตย

   

รวม

87

100

 

            N = 87

 

                        จากตาราง 4.18 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ถ้ามีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง พบว่า จำนวนครั้งที่ต้องการไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง พบว่า ไปใช้สิทธิทุกครั้งที่มีการเลือกตั้ง คิดเป็นร้อยละ 86.2 เหตุผลที่ไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งทุกครั้งเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ ใช้สิทธิของตน รองลงมาได้แก่ ต้องการเลือกผู้แทนที่เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถ และต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง ตามลำดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.19 จำนวน ร้อยละ และเหตุผล พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

          ถ้ามีสิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง

 

กิจกรรมทางการเมือง

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ลำดับเหตุผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

ถ้าท่านมีสิทธิในการเป็น

สมาชิกกลุ่มการเมือง ท่านจะเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือไม่

        - เข้าร่วม

        - ไม่เข้าร่วม

        - ไม่ตอบ

 

 

 

64

22

1

 

 

 

73.6

25.2

1.2

1. ต้องการมีส่วนร่วมในการพัฒนา

    ประเทศ

2. นำความรู้ที่ได้ศึกษามาไปใช้ให้เกิด

    ประโยชน์

3. ได้เสนอความคิดเห็นทางการเมือง

4. เป็นแนวทางแห่งความเป็น

    ประชาธิปไตย

5. หาประสบการณ์ทางการเมือง

รวม

87

100

 

            N = 87

 

                        จากตาราง 4.19 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ถ้ามีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง พบว่า ถ้ามีสิทธิในการเป็นสมาชิกกลุ่มการเมือง จะเข้าร่วมเป็นสมาชิก คิดเป็นร้อยละ 73.6 เหตุผลที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มการเมืองเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ ต้องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ รองลงมาได้แก่ นำความรู้ที่ได้ศึกษาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการเมือง และได้เสนอความคิดเห็นทางการเมือง ตามลำดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.20 จำนวน ร้อยละ และเหตุผล พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

          ถ้ามีสิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง

 

กิจกรรมทางการเมือง

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ลำดับเหตุผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

ถ้าท่านมีสิทธิในการรณรงค์

หาเสียงในการเลือกตั้ง ท่านจะเข้าร่วมการรณรงค์หาเสียง

หรือไม่

        - เข้าร่วม

        - ไม่เข้าร่วม

        - ไม่ตอบ

 

 

 

 

76

10

1

 

 

 

 

87.3

11.5

1.2

1. เห็นความสำคัญของการเลือกตั้งใน

    ระบอบประชาธิปไตย

2. ต้องการให้ประชาชนไปใช้สิทธิในการ

    เลือกตั้ง

3. เป็นแนวทางในการเลือกผู้นำที่เป็นคน

    ดีมีคุณธรรมและความรู้ความสามารถ

4. ต้องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมทาง

    การเมือง

5. หาประสบการณ์ทางการเมือง

รวม

87

100

 

            N = 87

 

                        จากตาราง 4.20 พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต ถ้ามีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง พบว่า ถ้ามีสิทธิในการรณรงค์หาเสียง จะเข้าร่วมรณรงค์หาเสียง คิดเป็นร้อยละ 87.3 เหตุผลที่เข้าร่วมรณรงค์หาเสียงเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ เห็นความสำคัญของการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย รองลงมาได้แก่ ต้องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง และเป็นแนวทางในการเลือกผู้นำที่เป็นคนดี มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถ ตามลำดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4.21 จำนวน ร้อยละ และเหตุผล พฤติกรรมทางการเมืองของบัณฑิตที่เป็นบรรพชิต

          ถ้ามีสิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง

 

กิจกรรมทางการเมือง

จำนวน (คน)

ร้อยละ

ลำดับเหตุผลที่เข้าร่วมกิจกรรม

ท่านให้คำปรึกษาหรือให้

ความรู้ความเข้าใจด้านการ

เมืองที่ถูกต้องแก่บุคคลทั่วไป

หรือไม่

        - ให้คำปรึกษา

        - ไม่ให้คำปรึกษา

 

 

 

 

79

8

 

 

 

 

90.8

9.2

1. ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจ

    ระบบการเมืองที่ถูกต้อง

2. ให้ประชาชนเห็นความสำคัญและ

    ประโยชน์ของการเลือกตั้ง

3. ต้องการพัฒนาประเทศ

4. มีความรู้ด้านการเมือง

รวม

87

100

 

            N = 87

 

     &nbsp

หมายเลขบันทึก: 494561เขียนเมื่อ 12 กรกฎาคม 2012 13:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กรกฎาคม 2012 13:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท