สมรรถนะของครูในศตวรรษที่่ยี่สิบเอ็ด


จรรยามารยาท ยึดแน่นในจรรยาบรรณและหลักการของจรรยาวิชาชีพ

  สมรรถนะของครูศตวรรษที่ยื่สิบเอ็ด

                                                           ประชุม โพธิกุล

1.การประเมิน สามารถใช้ยุทธศาสตร์การประเมิน (แบบเก่าหรือแบบทางเลือกใหม่) เพื่อช่วยเหลือพัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง

2.การสื่อสาร สามารถใช้เทคนิคสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กับนักเรียนและ

ผู้มีส่วนใกล้ชิด

3.การปรับปรุงต่อเนื่อง สามารถเข้าร่วมการปรับปรุงคุณภาพในวิชาชีพ เพื่อตนเองและสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

4.การคิดวิเคราะห์วิจารณ สามารถใช้เทคนิคและยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม ในการส่งเสริม สนับสนุนสมรรถนะวิสัยในการคิดวิจารณ์ การคิดสร้างสรรค์และการคิดแบบประเมินผลนักเรียน

5.ความหลากหลาย สามารถใช้ยุทธศาสตร์การเรียนการสอนที่สะท้อนต่อวัฒนธรรม รูปแบบการเรียน ความต้องการจำเป็นพิเศษและภูมิหลังทางสังคมเศรษฐกิจของนักเรียน

6.จรรยามารยาท ยึดแน่นในจรรยาบรรณและหลักการของจรรยาวิชาชีพ

7.การพัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย สามารถใช้ความเข้าใจในการเรียนรู้และ

การพัฒนาของมนุษย์เพื่อจัดสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ที่เป็นผลดี ที่สนับสนุนพัฒนาการด้านสติปัญญา ด้านส่วนตัวและด้านสังคมของนักเรียน

ทั้งมวล

8.ความรู้ในวิชาการ แสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหา

วิชา

9.บรรยากาศแห่งการเรียนรู้ สร้างสรรค์และดำรงไว้ในบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่มีผลดีที่นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เรียนรู้ร่วมกัน และมีแรงจูงใจในส่วนตน

10.การวางแผน  สามารถวางแผนการสอน ดำเนินการตามแผนการสอน และประเมินการสอนในบรรยากาศของการเรียนรู้ที่หลากหลาย

11.บทบาทของคร สามารถทำงานกับผู้อยู่ในอาชีพครูด้วยกัน พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนใกล้ชิดอื่นๆ เพื่อปรับปรุงประสบการณ์ทางการศึกษาของ

นักเรียนอย่างต่อเนื่อง

12.เทคโนโลยี สามารถใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ในกระบวนการสอนและกระบวนการเรียน

................

1.Florida Education Standards Commission:Accomplished,Professional and Preprofessional Competencies for Teachers of the Twenty_First Century,

Florida Department of Education, Lallabassee, Florida.January1996.

คำสำคัญ (Tags): #สมรรถนะของครู
หมายเลขบันทึก: 490732เขียนเมื่อ 10 มิถุนายน 2012 14:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 01:59 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท