โรคอ้วน (obesity)


โรคอ้วน (obesity)กับบทบาทของนักกิจกรรมบำบัด

โรคอ้วน (obesity)

 เป็นโรคเรื้อรังจากหลายปัจจัยเนื่องจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจริงๆ ยังไม่รู้แน่ชัดว่าโรคอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไรและทำไมต้องเกิดขึ้น แต่มีความเกี่ยวข้องโดยรวมกับปัจจัยด้านสังคม พฤติกรรม วัฒนธรรม สรีรวิทยา การเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงาน (metabolism) และพันธุกรรม

เมื่อใดเรียกว่าอ้วน-ผอม? เกณฑ์การตัดสินความอ้วนผอม มีหลายวิธี เช่น

1. ใช้ตารางมาตรฐาน โดยใช้ตารางเทียบส่วนสูงกับน้ำหนักที่ควรจะเป็น โดยกำหนดว่าอ้วน เมื่อน้ำหนักเท่ากับหรือเกิน 20% ของค่าสูงสุดของเกณฑ์มาตรฐาน

2. หาค่าดัชนีความหนาของร่างกาย (body mass index; BMI) ซึ่งนิยมใช้กันในปัจจุบัน คำนวณหาได้จากสูตร

ดัชนีความหนาของร่างกาย = น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม/(ส่วนสูงเป็นเมตร)2

ตาราง 1 แสดงการแบ่งกลุ่มน้ำหนักตัวโดยใช้ค่าดัชนีความหนาของร่างกาย

 

BMI, kg/m2

น้ำหนักน้อย

<18.5

น้ำหนักปกติ

18.5-24.9

น้ำหนักเกิน

25.0-29.9

บทบาทของนักกิจกรรมบำบัด

  • แนะนำผู้รับบริการเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนอาหาร รับประทานอาหารที่ไขมันต่ำ ควรรับประทานอาหารจำพวกผักและผลไม้
  • จัดกิจกรรมที่มีการเผาผลาญพลังงาน
  • ฝึกการออกกำลังกายให้ผู้รับบริการ
  • ส่งเสริมในเรื่องความมั่นใจในตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง
  • ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น การทักทายผู้อื่น การเข้าสังคม และอื่นๆ

Frame of Reference (FoR)

     Biopsychosocial Model (BPS)

1.Biological

     -Body structure and body weight affect to muscles and joint pain.

2. Psychological

     -Obesity affects to has stress and depression.

      -having low self-esteem

3.Sociological

      -Obese figure affects to feel low confidence and feel shy.

      -Feeling isolated in society.

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 481091เขียนเมื่อ 5 มีนาคม 2012 21:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 13:50 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท