กิจกรรมบำบัดกับชุมชนแออัด


ชุมชนแออัดกับบทบาทนักกิจกรรมบำบัด

ชุมชนแออัดและบทบาทนักกิจกรรมบำบัด

คือสภาพ เคหะสถานหรือบริเวณที่พักอาศัย ที่ประกอบด้วยอาคารเก่าแก่ชํารุดทรุดโทรม มีบริเวณที่สกปรกรกรุงรัง ประชาชนอยู่กันอย่างแออัดผิดสุขลักษณะ ต่ำกว่ามาตรฐานสมควร จนไม่อาจอยู่แบบครอบครัวตามปกติวิสัยมนุษย์ ทําให้ไม่ปลอดภัยในด้านสุขวิทยาและอนามัย

สาเหตุ

การอพยพโยกย้ายเข้าสู่ตัวเมือง , การขาดแคลนที่อยู่อาศัยราคาถูก

ลักษณะของชุมชนแออัด

  • มีบ้านเรือนปลูกหนาแน่น
  • มีประชากรอาศัยอยู่อย่างแออัดยัดเยียด
  • บริเวณที่อยู่อาศัยไม่ถูกสุขลักษณะ
  • อาคารบ้านเรือนชำรุดทรุดโทรม
  • ผู้อยู่อาศัยมีอาชีพมากมายหลายประการ

ปัญหาในชุมชนแออัด

  • ปัญหาสุขภาพอนามัย
  • ปัญหาความไม่ปลอดภัยของผู้อยู่อาศัย
  • ปัญหาอาชญากรรม
  • ปัญหาด้านศีลธรรม

ลักษณะของคนในชุมชนแออัด

  • อาชีพไม่มั่นคงรายได้น้อย
  • สภาพการอยู่อาศัยไม่ถูกสุขลักษณะ แออัดไม่มั่นคง
  • ขาดโอกาส ในการรับบริการต่างๆทางสังคม

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

  • ครอบครัวไม่มีเวลาให้กัน ต่างคนต่างทำงานหาเงิน
  • เพื่อนบ้านต่างคนต่างอยู่  ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน

บทบาทของนักกิจกรรมบำบัด

  • ปรับสิ่งแวดล้อม
  • ส่งเสริม ADLs
  • ส่งเสริม
  • Paticipation

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 480932เขียนเมื่อ 4 มีนาคม 2012 00:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มกราคม 2013 16:37 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

"...ปัญหาในชุมชนแออัด ... ปัญหาด้านศีลธรรม..."

Perhaps, this issue should be carefully explained.

People in slum have "moral" issues the same as people in high-rises or people in government ;-)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท