หลักการและวิธีการแก้ปํญหาด้วยกระบอนการเทคโนโลยีสารสนเทศ


เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เรียนรู้สื่อสารและการแก้ปัญหาการทำงานมีประสิทธิภาพ

ส่ วนใดส่ วนหนึงของโปรแกรม

  • 17. สั ญลักษณ์ ทใช้ การเขียนผังงาน ี จุดเริ มต้น / สิ นสุ ดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทํางานของโปรแกรมและการไหล ของข้อมูล ใช้แสดงคําสังในการประมวลผล หรื อการกําหนดค่า ั ข้อมูลให้กบตัวแปร แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสํารองเข้าสู่ หน่วยความจําหลักภายในเครื องหรื อการแสดงผลลัพธ์ จากการประมวลผลออกมา
  • 18. สั ญลักษณ์ ทใช้ การเขียนผังงาน ี การตรวจสอบเงือนไขเพือตัดสิ นใจ โดยจะมีเส้นออกจารรู ปเพือ แสดงทิศทางการทํางานต่อไป เงือนไขเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ แสดงผลหรื อรายงานทีถูกสร้างออกมา แสดงจุดเชือมต่อของผังงานภายใน หรื อเป็ นทีบรรจบของเส้น หลายเส้นทีมาจากหลายทิศทางเพือจะไปสู่ การทํางานอย่างใด อย่างหนึ งทีเหมือนกัน การขึนหน้าใหม่ ในกรณี ทีผังงานมีความยาวเกินกว่าทีจะแสดง พอในหนึ งหน้า
    การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ — Presentation Transcript
    • 1. หน่ วยที 2การแก้ ปัญหาด้ วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • 2. ตัวชีวัด• แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ
    • 3. สาระการเรียนรู้• แก้ปัญหาโดยใช้ขนตอนดังนี ั ▫ การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา ▫ การเลือกเครื องมือและออกแบบขันตอนวิธี ▫ การดําเนินการแก้ปัญหา ▫ การตรวจสอบและการปรับปรุ ง• การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขนตอน ั
    • 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ• การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งาน ช่วยอํานวยความสะดวกและ ลดภาระการทํางานด้วยมือของมนุษย์ ซึงมีกระบวนการทีแน่นอนและ เชือถือได้
    • 5. กระบวนการแก้ ปัญหา1. การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา 2. การเลือกเครื องมือและออกแบบขันตอนวิธี 3. ดําเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและการปรับปรุ ง
    • 6. การวิเคราะห์ และกําหนดรายละเอียดของปัญหา• ทําความเข้าใจถ้อยคําต่างๆ ในปั ญหา• แยกแยะให้ออกว่าสิ งทีต้องการหาคืออะไร• ข้อมูลและเงือนไขกําหนดให้มีอะไรบ้าง เพียงพอทีจะหาคําตอบ ได้หรื อไม่
    • 7. การเลือกเครืองมือและออกแบบขันตอนวิธี• มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหา ▫ พิจารณาสิ งทีต้องการหา ▫ เลือกปั ญหาเก่าทีมีลกษณะคล้ายคลึงกับปั ญหาทีจะพิจารณา ั ▫ ปรับปรุ งแนวทางในการแก้ปัญหาเก่าให้สอดคล้องเหมาะกับปั ญหาใหม่ ▫ วางแผนแก้ปัญหา• ไม่มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหา ▫ พิจารณาสิ งทีต้องการหา ▫ หาวิธีการเพือให้ได้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งทีต้องการหากับข้อมูลทีมีอยู่ ▫ พิจารณาดูความสัมพันธ์นน สามารถหาคําตอบได้หรื อไม่ ั ▫ วางแผนแก้ปัญหา
    • 8. ดําเนินการแก้ ปัญหา• ระหว่างการดําเนินการแก้ปัญหา ถ้าเห็นแนวทางทีดี ก็สามารถ ปรับเปลียนได้
    • 9. การตรวจสอบและการปรับปรุงการวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา การเลือกเครื องมือและออกแบบขันตอนวิธี ดําเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบและการปรับปรุ ง
    • 10. การแก้ ปัญหาด้ วยวิธีการเชิงระบบ• การแยกแยะและทําความเข้าใจปั ญหา• พัฒนาวิธีการแก้ปัญหาเผือเลือก• การประเมินทางเลือกหรื อวิธีการ• การเลือกวิธีทีดีทีสุ ด• นําวิธีการทีเลือกไปใช้ในการแก้ปัญหา
    • 11. บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ ปัญหา• 1. บทบาทในการสร้างสารสนเทศ ▫ ส่ วนใหญ่มาจากการปฏิบติงานในระบบ ั• 2. บทบาทในการใช้เป็ นเครื องมือในการแก้ปัญหา ▫ คอมพิวเตอร์ หรื อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเครื องมือ ปฏิบติงานตามวิธีการทีเลือกเพือแก้ปัญหา ั
     
     
     
     
     
     
     
     
    • 12. การเขียนผังงานระบบ• ผังงาน คือ รู ปภาพหรื อสัญลักษณ์ทีใช้แทนลําดับขันตอน ในการทํางานของระบบ
    • 13. ประเภทของผังงาน• 1. ผังงานระบบ (Systme Flowchart) ▫ เป็ นผังงานทีแสดงถึงขันตอนการ ทํางานภายในระบบงานหนึงๆ โดยจะแสดงถึงความเกียวข้องของ ส่ วนทีสําคัญต่าง ๆในระบบนัน
    • 14. ประเภทของผังงาน2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) แสดงลําดับขันตอนในการทํางานของ โปรแกรม
    • 15. จุดมุ่งหมายของการใช้ ผงงานระบบ ั• เพือให้ขนตอนการทํางานตังแต่ตนจนจบ เหมาะสําหรับ ั ้ ผูบริ หาร ผูวเิ คราะห์ระบบ และเขียนโปรแกรมจะได้ทราบ ้ ้ ขันตอนการทํางาน และสามารถนํามาใช้ในการแก้ปัญหาของ ระบบได้
    • 16. ประโยชน์ และข้ อจํากัดของผังงานระบบ• 1. คนเรี ยนรู ้และเข้าใจผังงานระบบได้ง่าย• 2.ผังงานสื อความหมายด้วยภาพ ทําให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณา ลําดับขันตอนในการทํางาน• 3.ใช้ผงงานตรวจสอบความถูกต้องของลําดับขันตอนได้ง่าย ั• 4.การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงานระบบ สามารถทําให้ รวดเร็ วและง่ายขึน• 5.ในกรณี บารุ งรักษาโปรแกรมสามารถช่วยทบทวนงานในโปรแกรม ํ ก่อนปรับปรุ งได้ง่ายขึน• 6. แก้ปัญหาทีเกิดขึนจาก

 

 

 

 

 

 

  • 19. การเขียนผังงานระบบทีดีควรมีหลักเกณฑ์ ดังนี• มีจุดเริ มต้นและจุดสิ นสุ ดการทํางานเพียงจุดเดียวในหนึ งผังงานระบบ• มีทางออกจากสัญลักษณ์ใดๆ เพียงทางเดียว ยกเว้นสัญลักษณ์แสดงการตัดสิ นใจ สามารถมีทางออก 2 ทางได้• มีการเข้าสู่สัญลักษณ์ใด เพียงทางเดียว ถ้าต้องการกระทํากระบวนการเดียวกันควร ใช้สัญลักษณ์ตวเชือม ั• ทิศทางลําดับของขันตอนควรจะเริ มจากบนลงล่าง ซ้ายไปขวา• ข้อความทีบรรจุในสัญลักษณ์ควรสัน กะทัดรัด เข้าใจง่าย• ขนาดของสัญลักษณ์ทีใช้ควรมีขนาดทีเหมาะสม สวยงาม• เส้นทางทีใช้ผงงานควรเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ชัดเจน ไม่พนกัน ั ั
  • 20. ตัวอย่ างการเขียนผังงานการส่ งจดหมาย
  • 21. รู ปแบบการเขียนผังงาน• 1. การเขียนฝังงานแบบเรี ยงลําดับการทํางาน (Sequential Structure)• 2. การเขียนผังงานแบบมีการเลือกการทํางาน (Decision Structure) ▫ ผังงานแบบมี 2 ทางเลือก IF ▫ ผังงานทีมีมากกว่า 2 ทางเลือก CASE• 3. การเขียนผังงานแบบมีการทํางานวนซํา (Iteration Structure) ▫ While ▫ Do While ▫ Repeat until (Do until) ▫ For
  • 22. 1. การเขียนผังงานแบบเรียงลําดับการทํางาน (Sequential Structure) เป็ นโครงสร้ า งโปรแกรมที ทํางานเป็ นลําดับขันตอนเรี ยง กันไป
  • 23. 2. การเขียนผังงานแบบมีทางเลือกการทํางาน (Decision Structure) • เป็ นการเขียนผังงานทีมีลกษณะการ ั ทํางานแบบมีเงื อนไข เป็ นลักษณะ ตัด สิ น ใจ เลื อ กทิ ศ ทางการทํา งาน ตามคําสังทีกําหนดไว้
  • 24. ผังงานแบบมี 2 ทางเลือกจากการใช้คาสัง IF ํ• IF แบบทางเลือกเดียว Single Selection
  • 25. IF แบบสองทางเลือก Double Selection
  • 26. IF แบบหลายทางเลือก Multi Selection
  • 27. ผังงานทีมีมากกว่ า 2 ทางเลือก CASE• เป็ นการตรวจสอบเงือนไขของตัวแปรตรวจสอบ ว่าตรงกับค่าใด ค่า ดังกล่าวจะเป็ นตัวบอกกิจกรรมทีต้องทํา
  • 28. 3. การเขียนผังงานแบบมีการทํางานวนซํา (Iteration Structure)• คําสังสําหรับการทํางานซําหรื อเรี ยกว่า Loop โดยการทําซํา ่ โปรแกรมจะอยูภายใต้เงือนไข จริ ง หรื อเท็จ ตามทีผูเ้ ขียน โปรแกรมได้ออกแบบไว้
  • 29. While• โครงสร้างคําสังจะทําการตรวจสอบ เงื อนไขก่ อน ถ้าเงื อนไขเป็ นจริ ง ก็ จะทํา ซําไปเรื อยๆ แต่ เ มื อเงื อนไข เป็ นเท็จ จะหยุด ทําซําแล้ว ออกจาก ลูป
  • 30. Do while• ทํากิ จกรรมที ต้องการก่ อน แล้วจึ งตรวจสอบ เงื อนไข ถ้าเงื อนไขเป็ นจริ ง ก็จ ะทํากิ จ กรรม นันซําไปเรื อยๆ แต่ เ มื อเงื อนไขเป็ นเท็จ จะ หยุดทําซําแล้วออกจากลูป
  • 31. Repeat until (Do until)• ทํา กิ จ กรรมที ต้อ งการก่ อ น แล้ว ตรวจสอบ เงือนไข ถ้าเงือนไขเป็ นเท็จ ก็จะทํากิจกรรมนัน ซําไปเรื อยๆ แต่ ถ ้า เงื อนไขเป็ นจริ ง จะหยุ ด ทําซําแล้วออกจากลูปไป
  • 32. For• โครงสร้างคําสังจะทําการวนซําโดยรู ้ จํานวนแน่นอน โดยมีการกําหนดค่า เริ มต้น ค่าสิ นสุ ดของตัวแปรนับรอบ
  • 33. หลักเกณฑ์ ในการวิเคราะห์ ปัญหา• 1. สิ งทีโจทย์ตองการ ้• 2.ผลลัพธ์ทีต้องแสดง (Output)• 3.ข้อมูลทีต้องนําเข้า (Input)• 4.ตัวแปรทีใช้ (Variable)• 5.วิธีการประมวลผล (Processing)
  • 34. ตัวอย่ าง• จงวิเคราะห์โจทย์เพือหาผลรวมของเลข 1-50วิธีทาํ1. สิ งทีโจทย์ตองการ ้ ผลรวมของเลข 1-502. ผลลัพธ์ทีต้องการแสดง (output) Sum of 1-50 = xxx3. ข้อมูลนําเข้า (Input) ตัวเลข 1-504. ตัวแปรทีใช้ x= ค่าของตัวเลข 1-50 sum= ผลรวม
  • 35. 5. วิธีการประมวลผล 5.1 กําหนดค่าของผลรวมให้เป็ น 0 (sum=0) 5.2 กําหนดค่า x มีค่าเริ มต้นเป็ น 1 (x=1) 5.3 คํานวณผลรวม sum=sum+x 5.4 ตรวจสอบว่า x= 50 ให้ไปทําข้อ 7 พิมพ์ค่าผลรวม 5.5 คํานวณเพิมค่า x=x+1 (เพิมค่า x ครังละ 1) 5.6 กลับไปทําข้อ 3 คํานวณผลรวม sum=sum+x 5.7 ให้พิมพ์ค่าผลรวม “sum of 1-50”=,sum 5.8 จบการทํางาน
  • 36. startSum=0 X=1Sum=sum+x N X=x+1 X=50 YPrint sum stop
  • 37. คําถาม:จงวิเคราะห์โจทย์เพือหาผลบวกของเลข 5+8+11+14+17ตัวแปรทีใช้ ▫ I=5 ▫ Sum=ผลบวก
  • 38. • 5. วิธีการประมวลผล ▫ 5.1 กําหนดค่าเริ มต้นให้ I=5, sum=0 ▫ 5.2 sum=sum+I (คํานวณ Sum+I เก็บผลลัพธ์ไว้ใน sum) ▫ 5.3 คํานวณ I=I++….+98• 1. สิ งทีโจทย์ตองการ ้ ▫ ผลบวกของเลข 5+8+11+14+17+….+98• 2. รู ปแบบผลลัพธ์ทีต้องการ (output) ▫ Sum of 1-50 = xxx• 3. ข้อมูลนําเข้า (Input) ▫ ไม่มี (เพราะตัวเลขทีนํามาบวกกัน มีค่าเพิมครังละ 3 เท่ากัน• 4. 3 (เพิมค่า I ครังละ 3) ▫ 5.4 ตรวจสอบว่า I=98 หรื อยัง ถ้าครบแล้ว จะพิมพ์ค่า sum แล้วจบ การทํางาน ▫ 5.5 ถ้ายังไม่ครบให้กลับไปทําข้อ 2
  • 39. start Sum=0 I=5Sum=sum+I I=I+3 N X=98 Y Print sum stop
  • 40. การบ้ าน1. ให้นกเรี ยนฝึ กวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพือหาผลรวม ั ของเลขคี ระหว่าง 1-1002. ให้นกเรี ยนฝึ กวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพือหาผลรวม ั และค่าเฉลียของเลข 1-100

 

หมายเลขบันทึก: 480450เขียนเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2012 11:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 18:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท