Packet switching


แพกเกตสวิตชิงใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูงๆๆ

Packet switching (English: packet switching) used to communicate via high-speed digital networks. Packet switching. The technique of finding a path to each. Packet whose destination is the same destination DTE (Data Terminal Equipment) device that allows transmission of information is a DCE (Data Communication Equipment).

For the transmission of data over a packet switching network that The size of the data is limited in size. It is divided into blocks of data packet (Packet) to the smaller stations and switches can store data in memory (Buffer) temporarily without a backup disk.

Network packet switching combines the advantages of both networks together is a network circuit (Circuit Switching) switch and network messages for all switch (Message Switching) together and get rid of the disadvantages. both types of networks by their nature are but a packet switching network is similar to the network even more likely the switch.

For transmitting data over a packet switching network. The data will be sent out by each package. By using the method. (Store-and-forward), if there are errors in the package. Switching, it will then request a switching before sending a packet, an error that was not necessary to wait for the sender to send information to every packet, then. send data to. The next station. This operation will cause data transmission in packet switching networks can be very fast and seems to contain no information at all. One very important characteristic for a packet switching network is to select the cycle (path) of a virtual circuit (Virtual Circuit) and a range of data and programs (Datagram Circuit).

แปลงไทย

แพกเกตสวิตชิง (อังกฤษ: packet switching) ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายดิจิตอลความเร็วสูง แพกเกตสวิตชิง เป็นเทคนิคในการหาเส้นทางให้กับแต่ละ แพกเกตที่มีจุดหมายปลายทางต่างกัน ปลายทาง คือ DTE( Data Terminal Equipment ) อุปกรณ์ที่ช่วยถ่ายทอดข่าวสารคือ DCE ( Data Communication Equipment )

การรส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็กเก็จสวิตชิ่งนั้น ขนาดของของข้อมูลถูกจำกัดขนาด จึงต้องแบ่งบล็อกข้อมูลออกเป็นแพ็กเก็จ (Packet) ทั้งนี้เพื่อให้มีขนาดเล็กลง และให้สถานี สวิตช์สามารถเก็บกักข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ (Buffer) ชั่วคราวได้โดยไม่ต้องใช้ดิสก์สำรอง

เครือข่ายแพ็กเก็จสวิตชิ่งเป็นการรวมเอาข้อดีของเครือข่ายทั้งสองมารวมกัน คือ เครือข่ายเซอร์กิต (Circuit Switching) สวิตช์และเครือข่ายแมสเสจต์สวิตช์ (Message Switching) เข้าด้วยกัน และกำจัดข้อเสียของเครือข่ายทั้งสองชนิดนี้ด้วย แต่ ลักษณะทั่วไปแล้วเครือข่ายแพ็กเก็จสวิตชิ่งจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับเครือข่ายแมดเสดสวิตช์มากกว่า

สำหรับการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็กเก็จสวิตชิ่ง ข้อมูลจะถูกส่งออกไปทีละแพ็กเก็จเรียง ลำดับตามกันโดยใช้วิธี (Store-and-forward) ถ้ามีข้อผิดพลาดในแพ็กเก็จขึ้น สวิตชิ่งนั้นก็จะทำการร้องขอให้สวิตชิ่งก่อนหน้านั้นส่งเฉพาะแพ็กเก็จที่มีความผิดพลาดนั้นมาให้ ใหม่ ไม่จำเป็นจะต้องรอให้ผู้ส่งทำการส่งข้อมูลมาให้ครบทุกแพ็กเก็จแล้วจึงค่อยส่งข้อมูลไป ให้สถานีอื่นต่อไป การทำงานแบบนี้จะทำให้การส่งข้อมูลในเครือข่ายแพ็กเก็จสวิตชิ่งสามารถ ทำงาน ได้เร็วมากจนดู

คำสำคัญ (Tags): #Packet switching
หมายเลขบันทึก: 475992เขียนเมื่อ 24 มกราคม 2012 10:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 23:30 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท