เรื่องน่าคิดกรณี เด็กชายปลาบู่


เรื่องน่าคิดกรณี เด็กชายปลาบู่


            ทำไม..ท่าน? ไม่แสดงความกล้า แจ้งจับทองใบ คำสี ซึ่งอ้างคำทำนายของ เด็กชายปลาบู่ ลูกชายที่ตายไปแล้วหลายปีก่อนปีใหม่..หรือท่านเองก็ไม่แน่ใจเหมือนกัน..?

        ... ก่อนถึงวันคำทำนาย = ไม่เชื่อ ก็อย่าลบหลู่

             อีกไม่กี่นาทีจะถึงที่ทำนาย......ปิดปากเงียบ..รอลุ้น....

            หลังวันทำนาย ไม่ตรงกับคำทำนาย....รุมกินโต๊ะ.....รุมสวด..รุมด่า..สมน้ำหน้า...แจ้งความ...ฐานหลอกลวง

           จริงๆแล้ว ก็ไม่กล้าจะประมาทที่เขาพูด ใช่ไหม ......ท่านโดนเขาตบทรัพย์ไปหรือ?

        ท่านเสียตังค์ ไปดูหมอ หมอทายผิด ทำให้ผัวเมียเขาตบตีกัน ท่านเคยไปฟ้องหมอดูไหม

หากมีคนบ้าออกมาพูด ท่านเชื่อเขาหรือ

****แต่ท่านไม่เคยโทษตัวของท่านเอง ชอบแต่ไปโทษ(และให้โทษ)คนอื่นดีนัก ...

หมายเลขบันทึก: 473389เขียนเมื่อ 3 มกราคม 2012 23:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 17:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอบคุณค่ะ

ปรากฎการณ์เช่นนี้ เกิดขึ้นหลายครั้ง คู่กับสังคมไทย

ความจริง ที่ได้รับการยอมรับโดยไม่ต้องรอการพิสูจน์ จัดเป็น "ความเชื่อ"

การถกเถียงก็หาข้อยุติได้ยาก

บางความเชื่อ มีผลดีต่อวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ มากกว่าข้อเสีย

คนส่วนใหญ่จึงเห็นว่าไม่ต้องการพิสูจน์ เช่น บั้งไฟพญานาค

บางความเชื่อ มีผลก่อความตระหนกตกใจ เนื่องจากไม่ได้ระบุ "เหตุ" ที่ป้องกันได้

(อะไร? เป็นเหตุให้เขื่อนแตก ที่สามารถป้องกัน ระวังได้)

..

โดยส่วนตัวจึงมองว่า

ความเชื่อ มีทั้งทางบวกและลบ

ขึ้นกับ เราจะคัดเลือกและอยู่กับ ความเชื่อ อย่างไร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท