นำเสนอกรณีศึกษาและหลักฐานเชิงประจักษ์


กรณีศึกษา นางสาว พ. อายุ 38 ปี เข้ารับการรักษาครั้งแรกเมื่อ สิงหาคม
2553 มีอาการคร่าวๆดังนี้

  • Mildspastic in right elbow ,wrist , and finger
  • Righthand movement : can flexion mass finger but can’t do another movement
  • Rightside movement with synergy pattern

จากการนำเสนอกรณีศึกษาและการนำเสนอหลักฐานเชิงประจักษ์ไปในวันนี้
สามารถสรุปเป็นความรู้ได้ดังนี้

- Brunnstrom approach และ Motor relearning program ช่วยเพิ่มทักษะในการใช้มือของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองให้ดีขึ้น

- Brunnstrom จะช่วยในด้าน wrist and hand therapy recovery, particularly the mass finger flexion extension and grasp ส่วน Motor relearning จะชวยส่งเสริมในด้านการใช้งานโดยไม่ได้คำนึงถึง wrist and hand therapy recovery มากนัก

- CIMT ก็ช่วยส่งเสริมทักษะในการใช้มือของผู้ป่วยหลอดเลือดสมองเช่นกันทั้งที่ขึ้นอยู่กับความถี่ในการใช้มือด้านอ่อนแรงด้วย

- CIMT ยังมีงานวิจัยที่มีผลการศึกษาที่หลากหลายควรพิจารณาให้เหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ราย

ถ้าสนใจงานวิจัยสามารถโหลดอ่านเพิ่มเติมได้

  • Comparisonof Brunnstrom movement therapy and motor relearning program in rehabilitationof post-stroke hemiparetic hand: A randomized trial
  • Constraint-InducedTherapy Versus Dose-Matched Control Intervention to Improve Motor Ability Basic/Extended Daily Functions, and Quality of Life in Stroke

Reference

  • Keh-chungLin(2009). Constraint-induced therapy versus dose-matched control Interventionto improve motor ability basic/extended daily functions, and quality of Life in stroke.The American Society of Neurorehabilitation Volume 23 Number 2 February 2009;160-165
  • ShantaPandian(2011). Comparison of Brunnstrom movement therapy and motor relearning program in rehabilitation of post-stroke hemiparetic hand: A randomized trial. Journal of Bodywork & Movement Therapies ;1-8
หมายเลขบันทึก: 472864เขียนเมื่อ 29 ธันวาคม 2011 11:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 10:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

CIMT เป็นอีกเทคนิคที่น่าสนใจ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆนะ

ถ้าเราใช้เทคนิค Brunnstrom approach ,Motor relearning program และ

CIMT ร่วมรักษาผู้รับบริการก็น่าจะได้ประสิทธิภาพี่ดีนะคะ ขอบคุณความรู้ดีวันนี้ค่ะ

ดังนั้น OT น่าจะใช้เทคนิค NDT เช่น Brunnstrom ควบคู่ไปกับการทำกิจกรรม เพื่อให้ได้การเคลื่อนไหวที่ดีและการทำหน้าที่ของแขนและมือในการทำกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจง

ขอบคุณณัชชานะคะ :)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท