การสุ่มตัวอย่าง


เทคนิคกลุ่มตัวอย่าง สุ่มโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น สมาชิกมีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูลได้ตรงปัญหาวิจัย

การสุ่มตัวอย่าง
กระบวนการที่ทำให้ตัวแทนของประชากร

สมาชิก
บุคคลหรือสิ่งที่ใช้เป็นหน่วยในการสุ่ม

หลักการสุ่มตัวอย่าง
- สมาชิกเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
- มีคุณลักษณะสำคัญเหมือนประชากร
- สมาชิกทุกหน่วยมีโอกาสได้เป็นกลุ่มตัวอย่างเท่ากัน
- กลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่เพียงพอ

เทคนิคกลุ่มตัวอย่าง
สุ่มโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น
สมาชิกมีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูลได้ตรงปัญหาวิจัย

การสุ่มโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น
สุ่มอย่างง่าย
- ประชากรเป็นเอกพันธ์
- สมาชิกทุกหน่วยมีโอกาสเท่าเทียมกัน
- ใช้การจับฉลาก
- ใช้ตารางเลขสุ่ม
- (โปรดระบุว่าทำอย่างไร)

สุ่มเป็นระบบ
- ประชากรเป็นเอกพันธ์
- ประชากรเรียงในบัญชีตามธรรมชาติ/ระบบใดๆ
- กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
- หาระยะห่างโดยนำประชากรตั้งหารด้วยขนาดตัวอย่าง
- กำหนดเลขที่เริ่มต้นของตัวอย่าง (จับฉลาก/ใช้เลขสุ่มระหว่าง 1 ถึงระยะห่างที่คำนวณได้)

สุ่มแบบยกกลุ่ม
- ประชากรอยู่เป็นกลุ่ม โดยธรรมชาติในกลุ่มหนึ่งๆ มีความหลากหลายภายในกลุ่ม แต่ระหว่างกลุ่มในประชากรมีความเหมือนๆ กัน
- ระหว่างห้องมีความคล้ายคลึงกัน

สุ่มแบบยกกลุ่ม
- การสุ่มแบบยกกลุ่มอาจใช้การสุ่มอย่างง่าย หรือสุ่มแบบเป็นระบบ
- เปลี่ยนหน่วยการสุ่มจากคนมาเป็นห้อง

สุ่มแบบแบ่งชั้น
- ประชากรมีความเป็นวิวิธพันธ์ โดยธรรมชาติที่แบ่งเป็นชั้นหรือเป็นพวก
- แต่ละชั้นมีความเป็นเอกพันธ์ (เหมือนกัน) ต่างชั้นมีความเป็นวิวิธพันธ์ (ต่างกัน)
- ในการสุ่มต้องการได้ตัวแทนประชากรทุกชั้น
- หลังจากจัดชั้นแล้วจึงหาวิธีสุ่มสมาชิกจากแต่ละชั้นออกมาตามสัดส่วน ซึ่งจะใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายหรือเป็นระบบ

หมายเลขบันทึก: 462499เขียนเมื่อ 25 กันยายน 2011 00:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 20:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท