นโยบายศาสตร์


นโยบายศาสตร์

          การศึกษานโยบายศาสตร์  เป็นศาสตร์ที่สำคัญมาก  ต่อการวางนโยบาย  เพื่อเป็นวีถีสาธารณะเพื่อให้เป็นการออกแบบนโยบาย Policy design สิ่งที่เป็นตัวขัดขวาง discrepancy และตัวกำจัด Constraints ที่บดบังนักกำหนดนโยบายศาสตร์ไม่ให้มองทะลุปัญหาเพื่อความ ไพบูลย์ของสาธารณะ  public  interests

          กรณีที่นำเสนอดังกล่าวเป็นความเห็นข้อคิดของนักวิชาการที่สนับสนุนหลักการนโยบายศาสตร์ว่า  เป็นศาสตร์แห่งความรู้เป็น wisdom  และ
เป็น  interdisplinary  fields  approaches

         ดังนั้น core experts ของผู้กำหนดนโยบายจะต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในการมองเห็นภาพเกี่ยวกับ what  are….  และ what  should  be  done , How  to  design  who  will  got  what , why , when , where  and  by  whom  or  by  what  an  organization

         ดังนั้น  สิ่งที่จะสร้างบุคคลให้เป็นบุคคลที่เห็นภาพอดีต , ปัจจุบัน , อนาคต อย่างเด่นชัด  และทำนายอนาคตได้อย่างเป็นระบบนั้น  จะต้องเป็นนักคิด Thinker
ที่มีวิสัยทัศน์ที่มีมันสมองหรือทีมมันสมองเป็นเลิศ “ Think Thank  ”

         ซึ่งการเป็นนักคิดที่เรียกว่า Informal  Thinking หรือ  Think  above  the  curve นั้นจะเป็นผู้ชนะ  ดังมรรคมีองค์ 8  ข้อแรกที่ว่า  สัมมาทิฎฐิ  มีความคิดชอบ  คิดถูกต้อง  ในเบื้องต้นนั้นไม่ใช่เป็นนักจำ  ทำตาม  หากแต่เป็นนักคิดที่ยิ่งใหญ่  คิดรอบคอบ  คิดคลอบคลุม

         แล้วกำหนดเป็นแนวทางแบบ  หยั่งรู้ฟ้าดิน  จึงจะเป็นผู้กำหนดนโยบายศาสตร์และนักวิเคราะห์และตัดสินใจเชิงนโยบายเพื่อปวงชนชาวไทย  บทความดังกล่าวจะช่วยนักอ่านให้มี  Innovative  Thinking  toward  Policy  Science  

โดย บุญทัน  ดอกไธสง                                                       

๒๙  มกราคม  ๒๕๔๙   

 

   

คำสำคัญ (Tags): #นโยบายศาสตร์
หมายเลขบันทึก: 457161เขียนเมื่อ 31 สิงหาคม 2011 10:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 12:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท