การวัดและประเมินผลแบบ 360 องศา


การวัดและประเมินผลแบบ 360 องศา

กระบวนการประเมินผลงานแบบ 360 องศา สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ขั้นตอน

 

1. การวางแผน (Planning)

 

2. การทดลองนำร่องเพื่อพัฒนาระบบ (Piloting)

 

3. การนำแผนมาปฏิบัติ (Implementation)

 

4. ข้อมูลป้อนกลับจากผลการปฏิบัติงาน (Feedback)

 

5. การทบทวน/ตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง (Review)

 

วัตถุประสงค์ของการประเมินแบบ 360 องศา

 

1) เพื่อการพัฒนา

 

2) เพื่อการตัดสินใจเชิงบุคลากร

 

3) เพื่อการตัดสินใจเชิงบุคลากรร่วมกัน

 

ประโยชน์ประเมิน 360 องศา

 

1. ทำให้ได้ทัศนะที่หลากหลายในการประเมินบุคคลมากยิ่งขึ้น และถือเป็นการเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ ทั้งยังเป็นการชี้ให้เห็นจุดบกพร่อง และการระบุจุดเด่นของตนอีกด้วย

 

2. ประโยชน์ต่อการปรับปรุงภาวะผู้นำของผู้รับการประเมินและพร้อมทั้งการปรับปรุงระดับความพึงพอใจของผู้ได้รับข้อมูลย้อนกลับ

 

3. การสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างพนักงานที่ร่วมกิจกรรมในการประเมิน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับผู้บังคับบัญชาอีกด้วย ทำให้มีการสื่อสารที่ดี มีความเชื่อมั่นระหว่างกัน เกิดความร่วมแรงร่วมใจกัน ทั้งยังสร้างจิตสำนึกในการมองประโยชน์ส่วนรวมร่วมกันมากขึ้น

หมายเลขบันทึก: 444886เขียนเมื่อ 19 มิถุนายน 2011 16:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท