คอมพิวเตอร์ช่วยสอน


คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

สรุปผลการวิจัย

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจากัด

The Development of Computer-assisted Instruction on Information Technology Security

Awareness for Staff of United Overseas Bank Company Limited

ของ นายสุวิช ตั้งครัชต์

โดย นายปานทอง   เถาว์ชาลี25 กลุ่ม 1

 

บทที่1

บทนา

ความสาคัญของปัญหา

 ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งจาเป็นที่พนักงานธนาคารทุกคนต้องศึกษา เนื่องจาก
ธนาคารมีการนาระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รวมถึงระบบงานคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานของธนาคาร ทั้งใน
ส่วนการให้บริการลูกค้า ผ่านเครือข่ายinternet และการอานวยความสะดวกแก่พนักงานที่ธนาคารผ่าน intranet อย่าง
ต่อเนื่อง และจากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาพบว่าการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ เป็นเรื่องที่มีความสาคัญในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของพนักงานที่ธนารารทั้งในด้านความเชื่อมั่นและความถูกต้องของข้อมูล
สารสนเทศธนาคารได้กาหนดให้พนักงานฝ่ายสารสนเทศทุกคน ต้องศึกษา ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้พนักงานที่ธนาคารมีความไว้วางใจและเชื่อมั่นในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะทาให้
เกิดความถูกต้อง มีเสถียรภาพ ปลอดภัย มีการควบคุมการปฏิบัติงาน การรักษาความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและทาให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของพนักงานฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 2

การตรวจเอกสาร

ความหมายของและลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-assisted Instruction) เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ใน
การนาเสนอเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรงและเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (interactive)

องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

1. บทนารื่อง (title)

2. คาชี้แจงบทเรียน (instruction)

3. วัตถุประสงค์บทเรียน(objective)

4. รายการเมนูหลัก (main menu)

5. แบบทดสอบก่อนเรียน (pre test)

6. เนื้อหาบทเรียน (information)

 7. แบบทดสอบหลังเรียน (post test)

8. บทสรุป และการนาไปใช้งาน (summary application)


บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งการแบ่งรูปแบบหรือประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ด้วยคอมพิวเตอร์โดยสรุปแล้วมี5 รูปแบบด้วยกันคือ

1. การสอน (tutorial)

2. ฝึกหัดและปฏิบัติ(drill and practice)

3. สถานการณ์จาลอง(simulation)

4. แบบเกมส์(games) เกมส์

5. ทดสอบ (Tests)

ทฤษฎีจิตวิทยา

Alessi and Trollip (1991) ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการพัฒนาบทเรียน ดังนี้

1. การเตรียม (Preparation) ได้แก่

การกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์

1.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล

1.3 การศึกษาเนื้อหา

1.4 การสร้างความคิด

2. การออกแบบ (design) ได้แก่

2.1 การทอนความคิด

2.2 การวิเคราะห์งานและความคิดรวบยอด

2.3 การออกแบบบทเรียนขั้นแรก

2.4 การประเมินและแก้ไขการออกแบบ

3. การเขียนผังงาน (flowcharting) แสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหาบทเรียนกิจกรรมการเรียนต่าง ๆ เพื่อเป็นการอธิบาย
ลาดับขั้นตอนในการทางาน

4. การสร้างสตอรี่บอร์ด (storyboarding) เป็นการออกแบบลักษณะข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว และเสียง ที่เห็นบน
หน้าจอภาพ ลงในกระดาษก่อนที่จะใช้โปรแกรมในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจริง

5. การสร้างโปรแกรมและผลิตเอกสารประกอบ (programming and support materials) เป็นขั้นตอนที่ใช้โปรแกรมในการ
สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และผลิตเอกสารประกอบอื่น ๆเช่นคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นต้น

6. การประเมินผล (evaluation) โดยการทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อหาข้อบกพร่องและปรับปรุง แก้ไข
จนกระทั่งถูกต้องเหมาะสมสามารถนาไปใช้งานได้

บทที่3

วิธีดาเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi experimental research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจากัด ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
ที่กาหนดไว้และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนได้ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้
ดาเนินการเป็น

ขั้นตอนดังนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง


2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

3. การดาเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล

4. การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่4

ผลการวิจัยและข้อวิจารณ์

ผลการวิจัย

สาหรับพนักงานธนาคารยูโอบีจากัด พบว่าค่า t ที่คานวณได้เท่ากับ 14.137 ซึ่งมากกว่าค่า t ที่ได้จากตารางที่นัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.5 มีdf เท่ากับ 29 ซึ่งมีค่า 1.699 แสดงว่า คะแนนทดสอบหลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง
ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับพนักงานธนาคารยูโอบีจากัด สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่0.5 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้และมีค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนหลังเรียนต่า
กว่าก่อนเรียนแสดงว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกว่าก่อนเรียน

ข้อวิจารณ์

ผลการวิจัยพบว่า ดัชนีประสิทธิผลของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับ
พนักงาน ธนาคารยูโอบีจากัด โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้ว พนักงานมีคะแนนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 53.00 แสดงว่า
บทเรียนที่สร้างขึ้นมา มีประสิทธิภาพค่อนข้างสูง เพราะว่าเมื่อผู้เรียนได้เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้วมี
คะแนนหลักเรียนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและ
สร้างความสนใจในการเรียนมากขึ้น ทาให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ถูกต้อง
นั่นคือประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น

บทที่5

สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย

จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับพนักงาน
ธนาคารยูโอบีจากัด สามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. พัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับ
พนักงาน ธนาคารยูโอบีจากัด ตามเกณฑ์80/80

2. เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องความปลอดภัยด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ สาหรับพนักงาน ธนาคารยูโอบีจากัด

3. หาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับพนักงาน
ธนาคารยูโอบีจากัด

ข้อเสนอแนะ

การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้

1. ในการเรียนโดยใช้บทเรียนนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น ก่อนเรียนผู้สอนควรมีการแนะนาให้ผู้เรียนทราบถึงวัตถุประสงค์
วิธีการใช้บทเรียน รวมทั้งขั้นตอนในการศึกษาบทเรียน เพราะผู้เรียนไม่คุ้นเคยกับการเรียนด้วยบทเรียนนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


2. เนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรนาเสนอบทเรียน จากเรื่องง่ายไปหายากเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
และกระตือรือร้นที่จะเรียน นอกจากนี้จะไม่ทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย และควรให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถ
ของตนเองไม่ควรกาหนดเวลาในการเรียน

3. จากการวิจัยพบว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะนามาใช้งานกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรเป็นเครื่องที่มีความพร้อม
ในด้านขนาดของหน่วยความจาและระบบเสียง เพราะอาจจะทาให้ภาพช้า หรือเสียงไม่สม่าเสมอได้เนื่องจากบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นเป็นการนาเสนอด้วยสื่อผสม เช่น ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่าย
เนื้อหาบทเรียนให้ใกล้เคียงกับของจริงมากที่สุด

4. เนื่องจากผลการวิจัยได้แสดงให้เห็นว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็น
สื่อการเรียนด้วยตนเองที่ใช้ได้ผล จึงสมควรนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการผลิตเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับ
เนื้อหาข้อมูลอื่นๆ ของธนาคารเพื่อให้พนักงาน สามารถใช้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจและความสามารถของแต่ละ
บุคคลได้

ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป

1. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบการจาลอง
(simulation) เพื่อใช้ฝึกทักษะให้เกิดความชานาญ

2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรตัวอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ทัศนคติความคิดสร้างสรรค์เพศ เป็นต้น

3. ควรมีการศึกษาและทดลองสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในเรื่องอื่นๆ สาหรับใช้เป็นสื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การฝึกอบรมความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ให้กับพนักงานเพื่อสามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงาน

 

 

หมายเลขบันทึก: 442332เขียนเมื่อ 4 มิถุนายน 2011 11:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท