แผนอ้วนดนตรี ป.๑


แผนอ้วนรายวิชาดนตรี ป.1 หลักสูตร 51

บันทึกหน่วยการเรียนรู้ 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี)รหัส-ชื่อรายวิชา ๑๑๑๐๑ ชั้นป. ๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เวลา ๔ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒  ปีการศึกษา ๒๕๕๔

........................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ ๒.๑    เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์  วิเคราะห์  วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

                มฐ.ศ ๒.๑ป.๑/๑  รู้ว่าสิ่งต่างๆ สามารถก่อกำเนิดเสียงที่แตกต่างกัน

มฐ.ศ ๒.๑ป.๑/๒  บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา  และความช้า-เร็วของจังหวะ

สาระสำคัญ

เสียงที่อยู่รอบตัวเรามาจากแหล่งกำเนิดเสียงที่ต่างกันและเสียงจะมีคุณลักษณะแตกต่างกัน

สาระการเรียนรู้

            ความรู้

๑.      การกำเนิดเสียง

๒.    คุณสมบัติของเสียง

๓.     เสียงจากเครื่องดนตรี

๔.     สีสันของเสียงมนุษย์

                ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

                การจำแนก  การปฏิบัติ/การสาธิต  การสรุปความรู้  การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ทักษะการคิด

การประเมินผล

ชิ้นงานหรือภาระงาน

๑.      ใบงานที่ ๑  การกำเนิดเสียง 

๒.    การสังเกตภาพและบอกลักษณะของเสียงดัง-เบา

     การประเมินผลการเรียนรู้

๑.      ใบงานที่ ๑ เรื่อง การกำเนิดเสียง

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน

 

ดีมาก  (๔)

 

 

ดี (๓)

 

 

พอใช้ (๒)

 

ปรับปรุง (๑)

วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจำวัน และจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้

วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจำวันและจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้นอกเหนือจากที่ครูยกตัวอย่างได้สวยงามด้วยตนเอง และเขียนจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้ถูกต้องสัมพันธ์กับรูปภาพ

วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจำวันและจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้ตามที่ครูยกตัวอย่าง แต่ไม่สวยงามด้วยตนเอง และเขียนจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้ถูกต้องสัมพันธ์กับรูปภาพ

วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจำวันและจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้ตามที่ครูยกตัวอย่าง แต่มีการดัดแปลงให้แตกต่างและเขียนจำแนกแหล่ง กำเนิดเสียงได้ถูกต้องสัมพันธ์กับรูปภาพ

วาดภาพเสียงที่ได้ยินในชีวิตประจำวันและจำแนกแหล่งกำเนิดเสียงได้ตามรูปแบบที่กำหนดให้ได้แต่ไม่สามารถเขียนจำแนกแหล่ง กำเนิดเสียงได้สัมพันธ์กับรูปภาพ

 เกณฑ์การให้คะแนน

 ดีมาก   (๔)         =    ๙-๑๐    คะแนน

ดี          (๓)         =    ๗-๘    คะแนน

พอใช้   (๒)         =    ๕-๖     คะแนน

ปรับปรุง (๑)       =    ๑-๔       คะแนน

 ๒.    การสังเกตและบอกลักษณะของเสียงดัง-เบา

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน

 

ดีมาก  (๔)

 

 

ดี (๓)

 

 

พอใช้ (๒)

 

ปรับปรุง (๑)

บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะ

บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สัมพันธ์กันมีการเชื่อมโยงให้เห็นเป็นภาพรวม แสดงให้เห็นถึงความ สัมพันธ์กับตนเองและผู้อื่น

 บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้ มีการจำแนกข้อมูลหรืออธิบายให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล

บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สอดคล้องกับข้อมูล มีการเขียนขยายความและมีการยกตัวอย่างเพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย

บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้ แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลที่อ่าน เขียนตามข้อมูลที่อ่าน ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม

 เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก   (๔)         =    ๙-๑๐    คะแนน

ดี          (๓)         =    ๗-๘    คะแนน

พอใช้   (๒)         =    ๕-๖     คะแนน

ปรับปรุง (๑)       =    ๑-๔       คะแนน

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

 

ประเด็น/รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ

 

ดีมาก  (๔)

 

 

ดี (๓)

 

 

พอใช้ (๒)

 

ปรับปรุง (๑)

ใฝ่เรียนรู้ 

 

มีพฤติกรรมที่แสดง ออกถึงการใฝ่เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ

มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการใฝ่เรียนรู้เป็นบาง ครั้ง

มีพฤติกรรมที่   แสดงออกถึงการ   ใฝ่เรียนรู้น้อย

มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการใฝ่เรียนรู้น้อยมาก

มุ่งมั่นในการทำงาน 

 

ทำงานอย่างเต็มความ

 สามารถเอาใจใส่งาน

 ที่ได้รับมอบหมายให้

 เสร็จสมบูรณ์ตาม 

 กำหนดและตรงเวลา

 ทำงานอย่างเต็ม

 ความสามารถเอา

 ใจใส่งานที่ได้รับ

 มอบหมายให้เสร็จ

 สมบูรณ์แต่ไม่ทัน

 เวลา

ทำงานด้วยความตั้งใจเอาใจใส่งานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จแต่ไม่สมบูรณ์และไม่ทันเวลา

ทำงานแต่ไม่ตั้งใจ

และทำงานไม่เสร็จสมบูรณ์และไม่ทันเวลาที่กำหนด

มีวินัย

 

ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะเรียน

ได้อย่างสม่ำเสมอ

ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะ

เรียนได้อย่างเป็นบางครั้ง

ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะ  เรียนได้น้อย

ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะเรียนได้น้อยมาก

 เกณฑ์การให้คะแนน

 ดีมาก   (๔)         =    ๙-๑๐    คะแนน

ดี          (๓)         =    ๗-๘    คะแนน

พอใช้   (๒)         =    ๕-๖     คะแนน

ปรับปรุง (๑)       =    ๑-๔       คะแนน

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ

                ระดับ     ๒, ๓, ๔               หมายถึง                                ผ่าน

                ระดับ     ๑                       หมายถึง                                ไม่ผ่าน

 

คำสำคัญ (Tags): #การศึกษา
หมายเลขบันทึก: 435873เขียนเมื่อ 18 เมษายน 2011 22:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:41 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

บันทึกหน่วยการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) รหัสรายวิชา ๑๑๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เวลา ๗ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔

........................................................................................................................................................

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วัด

มฐ.ศ ศ ๒.๑ป.๑/๒ บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะ

มฐ.ศ ศ ๒.๑ป.๑/๓ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆ

มฐ.ศ. ศ ๒.๑ป.๑/๔มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอย่างสนุกสนาน

สาระสำคัญ

การเข้าใจจังหวะเพลงจะทำให้เราร้อง และเคลื่อนไหวตามบทเพลงได้อย่างถูกต้อง

สาระการเรียนรู้

ความรู้

๑. ความหมายของจังหวะ

๒. จังหวะเพลงไทย

๓. จังหวะเพลงสากล

๔. การอ่านบทกลอนประกอบจังหวะ

๕. การร้องเพลงประกอบจังหวะ

ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

การจำแนก การให้เหตุผล การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ การปฏิบัติ/การสาธิต การแก้ปัญหา การประยุกต์/การปรับปรุง

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ทักษะความคิด

ความสามารถในการคิด

การประเมินผล

ชิ้นงานหรือภาระงาน

๑. การเคาะจังหวะ และบอกความช้า-เร็วของจังหวะ

๒. ใบงานที่ ๒ การอ่านบทกลอนประกอบจังหวะ

๓. การทำกิจกรรมดนตรีร้องเพลงเป็ดอาบน้ำ และเคาะจังหวะ

การประเมินผลการเรียนรู้

๑. การเคาะจังหวะและบอกความช้า-เร็วของจังหวะ

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

ดีมาก (๔)

ดี (๓)

พอใช้ (๒)

ปรับปรุง (๑)

บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะ บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนดและแตกต่างจากที่ครูยกตัวอย่าง มีการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับตนเองและผู้อื่น บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด และแตกต่างจากที่ครูยกตัวอย่าง แต่เชื่อมโยง ให้เห็นเฉพาะตนเอง บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ตามที่ครูยก ตัวอย่าง แต่มีการดัดแปลงให้แตกต่าง บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะได้สัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ตามที่ครูยก ตัวอย่าง

เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก (๔) = ๙-๑๐ คะแนน

ดี (๓) = ๗-๘ คะแนน

พอใช้ (๒) = ๕-๖ คะแนน

ปรับปรุง (๑) = ๑-๔ คะแนน

๒. ใบงานที่ ๒ การอ่านบทกลอนประกอบจังหวะ

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

ดีมาก (๔)

ดี (๓)

พอใช้ (๒)

ปรับปรุง (๑)

อ่านบทกลอนประกอบจังหวะ อ่านบทกลอนประกอบจังหวะร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม และสามารถแก้ไขปัญหาในระหว่างการปฏิบัติได้ อ่านบทกลอนประกอบจังหวะตามที่ตนเองคิดขึ้นมาเองเพื่อให้มีประสิทธิภาพ ที่ดีขึ้นกว่าแบบอย่างโดยมีครูหรือผู้อื่นแนะนำบ้าง อ่านบทกลอนประกอบจังหวะตามแบบได้ถูกต้อง และมีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับตนเองโดยมีครูหรือผู้อื่นแนะนำบ้าง อ่านบทกลอนประกอบจังหวะได้ตามแบบอย่างหรือทำตามที่ครูแนะนำเท่านั้น

เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก (๔) = ๙-๑๐ คะแนน

ดี (๓) = ๗-๘ คะแนน

พอใช้ (๒) = ๕-๖ คะแนน

ปรับปรุง (๑) = ๑-๔ คะแนน

. การทำกิจกรรมดนตรีร้องเพลงเป็ดอาบน้ำและเคาะจังหวะ

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

ดีมาก (๔)

ดี (๓)

พอใช้ (๒)

ปรับปรุง (๑)

ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆได้ด้วยตนเองโดยครูไม่ต้องแนะนำและสามารถไปฝึกซ้อมให้ผู้อื่นได้ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆได้ โดยครูแนะนำบ้าง และสามารถแนะนำผู้อื่นได้ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆได้ โดยครูแนะนำอย่างใกล้ชิ ด และสามารถแนะนำผู้อื่นได้ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆได้ แต่ไม่สามารถแนะนำผู้อื่นได้

เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก (๔) = ๙-๑๐ คะแนน

ดี (๓) = ๗-๘ คะแนน

พอใช้ (๒) = ๕-๖ คะแนน

ปรับปรุง (๑) = ๑-๔ คะแนน

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็น/รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

ดีมาก (๔)

ดี (๓)

พอใช้ (๒)

ปรับปรุง (๑)

มีวินัย

ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะเรียน

ได้อย่างสม่ำเสมอ ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะ

เรียนได้อย่างเป็นบางครั้ง ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะ เรียนได้น้อย ปฏิบัติตามระเบียบข้อตกลงในขณะเรียนได้น้อยมาก

ใฝ่เรียนรู้

มีพฤติกรรมที่แสดง ออกถึงการใฝ่เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการใฝ่เรียนรู้เป็นบาง ครั้ง มีพฤติกรรมที่ แสดงออกถึงการ ใฝ่เรียนรู้น้อย มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการใฝ่เรียนรู้น้อยมาก

มุ่งมั่นในการทำงาน

ทำงานอย่างเต็มความ

สามารถเอาใจใส่งาน

ที่ได้รับมอบหมายให้

เสร็จสมบูรณ์ตาม

กำหนดและตรงเวลา ทำงานอย่างเต็ม

ความสามารถเอา

ใจใส่งานที่ได้รับ

มอบหมายให้เสร็จ

สมบูรณ์แต่ไม่ทัน

เวลา ทำงานด้วยความตั้งใจเอาใจใส่งานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จแต่ไม่สมบูรณ์และไม่ทันเวลา ทำงานแต่ไม่ตั้งใจ

และทำงานไม่เสร็จสมบูรณ์และไม่ทันเวลาที่กำหนด

รักความเป็นไทย

มีพฤติกรรมที่แสดง

ออกถึงการรักความเป็นไทยอย่าง

สม่ำเสมอ มีพฤติกรรมที่แสดง

ออกถึงการรักความ

เป็นไทยเป็นบางครั้ง มีพฤติกรรมที่แสดง

ออกถึงการรักความ

เป็นไทยน้อย มีพฤติกรรมที่แสดง

ออกถึงการรักความ เป็นไทยน้อยมาก

เกณฑ์การให้คะแนน

ดีมาก (๔) = ๙-๑๐ คะแนน

ดี (๓) = ๗-๘ คะแนน

พอใช้ (๒) = ๕-๖ คะแนน

ปรับปรุง (๑) = ๑-๔ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ

ระดับ ๒, ๓, ๔ หมายถึง ผ่าน

ระดับ ๑ หมายถึง ไม่ผ่าน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท