Lord Buddha as an excellent CEO for 26 centuries


Lord Buddha as an excellent CEO for 26 centuries

Lord Buddha as an excellent CEO for 26 centuries

บรรยายโดย

ผศ.ดร.นพ.ปัตพงษ์  เกษสมบูรณ์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บันทึกโดย: นายชวลิต  กงเพชร การพัฒนาสุขภาพชุมชน ป.โท

การนำศาสนาพุทธมาใช้ในองค์กร :

            เพราะหลักพระพุทธศาสนา คือหลักของความเป็นธรรมชาติ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นหลักแห่งการปฏิบัติต้องลงมือปฏิบัติถึงจะได้ ไม่ใช่เพียงขอ หลักพระพุทธศาสนา ยังได้รับการยอมรับจาก นักวิทยาศาสตร์ว่ามีความเป็นวิทยาศาสตร์สูง โดยไอน์ไตน์ และยังเป็นหลักคำสอนที่เกิดมาแล้ว ส่งผลต่อปัจจุบันมากกว่า 2600 ปี ยังคงอยู่ หัวใจสำคัญของศาสนาพุทธคือการ นิพพาน ถ้าเปรียบเทียบกลยุธของพระพุทธเจ้าตามรูปแบบการพัฒนาองค์กร(ประยุกต์ใช้)

สินค้า  =  ความรู้(Knowledge)  พระไตรปิฎก  84,000 พระธรรมขรรภ์ 

การเปิดตัวสินค้าสู่ผู้ที่มีจิตศรัทธา = ทำให้สามารถสร้างความเหลื่อมใส สัทธาของญาติโยมได้สูง เพราะเข้าถูกเป้าประสงค์การกระจายหลักคำสอน เริ่มต้นจากคนที่มีอิทธิพลทางสังคม เช่นพระมหากษัตริย์ที่มีอำนาจ  และเลือกผู้ช่วยที่สามารถช่วยเหลือ พูดคุยกันได้เช่น ปัญจวัคคีย์ 

การบริหารงานบุคคลและองค์กรเกิด  สังฆะเกิดขึ้นและมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา

คุณสมบัติการเป็นผู้นำ การปฏิบัติจนรู้แจ้งด้วนตนเอง ลองผิดลองถูก จนสามารถจำแนกแยกแยะได้ว่าอะไรผิด อะไรถูก ที่สำคัญปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง

สินค้าของพระพุทธเจ้า ประกอบด้วย,อริยสัจสี่,อนัตตา,สังสารวัฏ,รูปกับนาม,กรรมลิขิต

 

วีดีทัศน์ของอ.ติชญ์ นัฐฮัน  พูดเรื่อง  นิพพาน(Nirvana) 

นิพพาน ท่าน อ.ติชญ์ นัฐฮัน ได้ให้แนวคิดและคำจำกัดความไว้อย่างเรียบง่าย และเข้าใจได้ไม่ยาก คือ อิสรภาพ การที่พวกเราค้นหาหนทางเพื่อนิพพาน ก็คือการหาทางปลดปล่อยตนเองให้เป็นอิสรภาพ สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด หลุดพ้น

 

 

ไอสไตน์ กล่าวไว้ว่า  พุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

มีความเป็นวิทยาศาสตร์สูง เช่นเป็นควอนตัมฟิสิกส์

คือสิ่งที่มองเห็นและสิ่งที่มองไม่เห็น  เป็นการหลอมรวมพลัง

 เดวิดโบว์  นักควอนตัมฟิสิกส์  พูดถึงการใช้ สุนทรียสนทนา(dialog): ซึ่งคาดการณ์ปรากฏการณ์ไม่ได้

-กฎของการใช้เครื่องมือ สุนทรียสนทนา  คือ หลักการ 2 ข้อ

  1.  ให้ห้อยแขวนคำตัดสิน (critism)   เช่น  ความคิดทางลบ  การดูถูก  ดูแคลน  การตัดสินโดยไม่ฟัง

 2.  ฟังอย่างนุ่มลึก ไม่ตัดสิน และยอมรับในแนวคิด เช่น เมื่อฟังแนวคิดเหล่านั้นแล้ว ให้เข้าใจว่านั้นคือแนวความคิดของของนั้นไม่ตัดสินว่าถูกหรือผิด ถึงแม้ว่าเราจะไม่เห็นด้วย แต่ก็ต้องยอมรับนั้นคือความคิดของเขา

หมายเลขบันทึก: 429111เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2011 00:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 18:37 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท