กิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกล ของลูกเสือ


กิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกล ของลูกเสือ

กิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกล ของลูกเสือ

“ จงจำไว้ว่าเมื้อเด็กเข้าเป็นลูกเสือ เด็กต้องการเริ่มเรื่องลูกเสือทันที ดังนั้นไม่ควรปล่อยให้เด็กหมดความกระตือรือร้น ดังที่มักจะกระทำกันโดยเริ่มที่อธิบายเบื่องต้นมากเกินไปจงสนองความปราถนาของเด็ก ด้วยการให้เล่นเกมและฝึกงานลูกเสือภาคปฏิบัติ ส่วนรายละเอียดเบื่องต้นต่าง ๆที่ค่อย ๆสอดแทรกเข้าไปภายหลังตามต้องการ

        

 

 กิจกรรมการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกล ของลูกเสือประจำปี  ครูควรทำอยางไร                                                 

 

 กิจกรรมการเดินทางไกล   อยู่ค่ายพักแรมควรเป็นกิจกรรมที่ครู   ผู้กำกับคิดค้นวิธีให้เด็กได้รู้สิ่งต่าง ๆของชีวิต   เช่นการสร้างนิสัย   การบำเพ็ญประโยชน์รู้จักปรับตัวเข้าหากันและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข  โดยให้ฝึกปฏิบัติตนด้วยการทำงานร่วมกันเป็นหมู่    ให้รู้จักยอมรับในบทบาทหน้าที่ซึ่งกันและกัน    ฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม    สร้างเสริมคุณธรรม   ความมีวินัย   ฝึกให้รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อยามคับขันสอนให้เด็กดำรงชีวิตกลางแจ้งโดยไม่นิ่งเฉย    กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้สอนโดยใช้วิธีให้เล่นเกมและทำงานปฏิบัติจริง     ตามแผนงานฝึกอบรมที่คณะครูร่วมกันวางแผนกำหนดเป็นตารางกิจกรรม   หลักเกณฑ์ที่ควรพิจารณานำมาใช้กำหนดเป็นกิจกรรมลูกเสือ   คือ  มีการศึกษาถึงแนวความคิดของเด็กและส่งเสริมให้เด็กสอนตนเองแทนที่จะถูกสอน   ดังนั้นครูเพื่อรับผิดชอบควรเตรียมการไว้อย่างรอบคอบ  หรือ  ขอความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญ

 

     โซคราตีส    กล่าวว่า “  ความมุ่งหมายของผู้กำกับลูกเสือ   มิใช่เพียงเพื่อช่วยเด็กที่เฉลียวฉลาด   แต่มุ่งให้ความช่วยเหลือเป็นพิเศษแก่เด็กที่ไม่ค่อยเฉลียวฉลาดนั้นได้รับความสนุกสนานจากชีวิต   และในเวลาอันเดียวกัน  ให้ได้รับประโยชน์และโอกาสบางอย่างที่เด็กซึ่งเคราะห์ดีกว่าได้รับทั้งนี้เพื่อว่าอย่างน้อยที่สุด   เด็กที่ไม่ค่อยเฉลียวฉลาดนั้นจึงได้มีโอกาสพอสมควรในชีวิต ”

 

 

 

 

      เด็กที่ได้รับการฝึกอบรมจากโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง    จะช่วยให้การร่วมกิจกรรมในค่ายพักแรม    ดำเนินไปได้ด้วยดีและสะดวกยิ่งขึ้น     การเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรมเป็นวิชาพิเศษตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ   ว่าด้วยการปกครองหลักสูตร และ วิชาพิเศษของทั้งลูกเสือสามัญ ( ฉบับที่    )   พ.ศ.           และลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ( ฉบับที่  14  )  พ.ศ.2528 ได้กำหนดหลักสูตรไว้ดังนี้

 

  1. การสอนโดยการปฏิบัติ   การเล่นเกม  และ  การแข่งขันเป็นระบบหมู่

     

    2.           เกมควรเป็นการแข่งขันเป็นหมู่ลูกเสือ   เพื่อให้เด็กทุกคนได้เล่น  ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน    และฝึกให้      ปรับตัวเข้าหากัน  และสร้างเสริมการทำงานร่วมกันอย่างเป็นสุข

     

    3.             ให้เชื่อฟังกฏกติกา   อยู่ในระเบียบอย่างเคร่งครัดเพื่อช่วยสร้างวินัย

     

    4.             เสริมแรงกับเด็กทันทีที่เด็กแข่งขันจบ    ด้วยการชมเชยหรือให้คะแนนสะสม    โดยไม่ตำหนิทันทีด้วยกว่า   แต่ใช้เทคนิควิธีเสนอแนะ    บอกวิธีการที่ถูกให้เด็กเห็นตัวอย่างที่ดี   และยอมรับด้วยตนเอง

     

     

     

     

     

      ผู้บริหาร  ควรเรียกประชุมผู้รักผิดชอบทั้งหมด  หรือ  ผู้รู้ที่เห็นว่าจะเป็นหลักในการกำหนดกิจกรรมต่าง ๆ   และช่วยวางตัวบุคคลลงในกิจกรรมได้เหมาะสม   แผนงานที่พิจารณาร่วมกัน     ควรให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นก่อนจัดสินใจสั่งการ  มอบหมายงาน การวางแผนกำหนดกิจกรรมต่างๆ   ก่อนออกเดินทางไกล   ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ร่วมรับผิดชอบ     

     

                        1.   ลส.นน.   จะต้องเตรียมอะไรบ้างเพื่อครู   ผู้กำกับ   จะได้ปรับแผนการสอน         เตรียมเด็กไว้ล่วงหน้า

     

                        2.  หนังสือยินยอมอนุญาติจากผู้ปกครอง    พร้อมทั้งแจ้งค่าใช้จ่ายให้ทราบด้วย

     

                       3.   กำหนดกิจกรรม  การอยู่ค่าย ทำตารางฝึก  ข้อเสนอแนะควรพิจารณาให้มีพิธีการของลูกเสือ   ที่ต้องปฏิบัติ

     

                                        1.             ปฐมนิเทศ

     

                                        2.             เปิดในห้องประชุม

     

                                       3.             ถวายราชสดุดี

     

                                      4.             เปิดรอบเสาธง

     

                                       5.             พิธีปิด ( ปิดในห้องประชุม – ปิดรอบเสาธง )

     

                                        6.             การตรวจค่ายในตอนเช้า

     

     

     

    ควรจะสั่งการมอบหมายให้มีการเตรียมการในสิ่งต่าง ๆ  ต่อไปนี้

     

     

     1.  สำรวจ ค่าย – สถานที่ที่จะนำพา  ลส. – นน.  ไปพักแรม – อยู่ค่าย   ที่ต้องคำนึงถึง3.                 การเตรียมเด็กครูก่อนเดินทาง

     

     

     

    1.1                 ค่าใช้จ่าย

     

    1.2                 ความปลอดภัย

     

    1.3                 ระยะเวลาในการเดินทาง    เส้นทางที่ไป

     

    1.4                 ความสะดวกในการกำหนดกิจกรรม  และ  พักอาศัย

     

    1.5                 ความช่วยเหลือเมื่อจำเป็น

     

    1.6                 พาหนะที่ต้องใช้

     

    1.7                 สภาพภูมิอากาศ   ในขณะนั้น

     

    1.8                 อาหาร

     

    1.9                 สุขา   ห้องน้ำ

     

    1.10          สถานพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด

     

    1.11          จุดที่จะใช้จัดกิจกรรมต่างๆในค่าย  เช่น  บุกเบิก   ผจญภัย    การเดินทางไกล  สำรวจที่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นสำคัญ

     

    1.12          โรงเรียนต้องจัดการเรียนการสอนมาแล้วอย่างต่อเนื่อง   และเตรียมเด็กไว้แล้วในเรื่องต่าง ๆดังนี้

     

    2.           การวางแผน    กำหนดกิจกรรมวางแผน

     

    3.     วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น

     

     4.                 การเสนอขออนุญาต

     

     

    5.                 การวางตัวบุคคล

     

    6.                 มาตรการ    การรักษาความปลอดภัย

     

    7.                 บทบาทของผู้อำนวยการฝึก  และ  ผู้กำกับรอง

     

    8.                 การประชุมเพื่อประเมิน  ติดตาม  มอบหมายภาระกิจ

     

    9.                 ระเบียบค่าย

     

    10.                 แบบประเมินผลการจัดกิจกรรม

     

    11.              การรายงานผลการจัดกิจกรรม

     

    12.              การสอบวิชาพิเศษ  (  การใช้เข็มทิศ – แผนที่    การสังเกต   การสะกดลอย   การบรรจุเครื่องหลัง   การสร้างสมรรถภาพทางกาย   การทำอาหารชาวค่าย  วิชาพิเศษที่จะให้มีการสอบ  สายยงยศ

     

    13.              เกม + การจัดกิจกรรมในการอยู่ค่าย

     

    14.              ตารางกำหนดกิจกรรม  และ  รายละเอียดของกิจกรรม

     

    ·       ปฐมนิเทศ

     

    ·       พิธีเปิดการฝึกอบรม

     

    14.   การปฐมพยาบาล

     

    15'          การสร้างที่พัก   (การกางเต้น)

     

    16.      การใช้ชีวิตร่วมกันในป่า

     

    17.      บทบาทของนายหมู่หรือสมาชิก

     

                                                                                 ฯลฯ

     

                                                               

     

     

     

     

     

    “ จงจำไว้ว่าเมื้อเด็กเข้าเป็นลูกเสือ   เด็กต้องการเริ่มเรื่องลูกเสือทันที   ดังนั้นไม่ควรปล่อยให้เด็กหมดความกระตือรือร้น    ดังที่มักจะกระทำกันโดยเริ่มที่อธิบายเบื่องต้นมากเกินไปจงสนองความปราถนาของเด็ก  ด้วยการให้เล่นเกมและฝึกงานลูกเสือภาคปฏิบัติ     ส่วนรายละเอียดเบื่องต้นต่าง ๆที่ค่อย ๆสอดแทรกเข้าไปภายหลังตามต้องการ

     

     ที่มา :

     http://gotoknow.org/blog/todsapol/231324

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

 

หมายเลขบันทึก: 414107เขียนเมื่อ 16 ธันวาคม 2010 13:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 16:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท