NHSO-PCN
เครือข่าย Palliative Care สปสช. NHSO-PCN

สหสาขาวิชาชีพร่วมดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ณ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช


ทำงานอย่างมีระบบภายใต้การมีส่วนร่วมในการดูแลของสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล โภชนากร เภสัชกร หน่วยเยี่ยมบ้าน อาสาสมัคร กายภาพบำบัด และคลินิคระงับปวด

การดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองและผู้ป่วยระยะสุดท้าย รพ.ภูมิพลอดุลยเดช เริ่มดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองและผู้ป่วยระยะสุดท้าย เมื่อพฤษภาคม พ.ศ.2552

  • ทำงานอย่างมีระบบภายใต้การมีส่วนร่วมในการดูแลของสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล โภชนากร เภสัชกร หน่วยเยี่ยมบ้าน อาสาสมัคร กายภาพบำบัด และคลินิคระงับปวด  
  • ดูแลแบบ Holistic care : Physical, Psycho, social  และ Spiritual

กิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

  • ในหอผู้ป่วย : Family meeting
  • โภชนบำบัด : แบบประเมินภาวะโภชนาการ ( BNT )
  • Pain clinic : Pain team ร่วมจัดทำ guide line เรื่อง Pain management
  • เภสัชกร : ให้คำปรึกษา
  • กายภาพบำบัด : ให้คำปรึกษา
  • มิตรภาพบำบัด 
  • การเยี่ยมบ้าน
  • Bereavement care
  • การจัดอบรมความรู้ ให้แก่ 
    • แพทย์ และ พยาบาล : Palliative care ,Pain management เพื่อใหมีี้ความรู้ ความเข้า้ใจ และมีทักษะในการดูแลผู้ป่่วยระยะสุดท้ายได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพ
    • อาสาสมัคร 
    • ผู้ป่วยและญาติ : เรื่องโภชนาการสำหรับผู้้ป่วยมะเร็ง ทุก 2 เดือน
  • จัดทำเอกสารต่างๆ สำหรับผู้ป่วย : 
    • คู่มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยที่ไดรับยาเคมีบำบัด 
    • สมุดบันทึกสำหรับผู้ป่วยที่ไดรับยาเคมีบำบัด 
    • สมุดบันทึกสำหรับผู้ป่วยที่ใส่อุปกรณ์ Port 
    • หนังสือสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง
  • การให้คำปรึกษาแนะนำ
  • คลินิคฝังเข็ม
  • ธรรมโอสถ
  • อาชีวบำบัด

โครงการต่างๆ

  • โครงการบ้านน่าอยู่ : หน่วยเคมีบำบัด ศูนย์มะเร็ง
  • โครงการ การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมด้วยมิตรภาพบำบัด

ผลลัพธ์

  • การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในหอผู้ป่วยอายุรกรรม
    • ทำใหอัตราผู้ป่วยระยะสุดท้าย เสียชีวิตโดยสงบ NO CPR, NO ETT คิดเป็น 83. 81 % 
    • อัตราความพึงพอใจการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย คิดเป็น 95.9% 
    • กลับไปดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยส่งต่อหน่วยเยี่ยมบ้า้น 21 ราย ซึ่งบางรายกลับมาเสียชีวิตที่ ร.พ.
  • การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในหอผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช :
    • การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย สามารถให้การดูแลตามแนวทางที่ ร.พ.ได้กำหนดไว้ทำได้อย่างครอบคลุมและครบวงจร โดยเฉพาะการดูแลต่อเนี่องที่บ้าน
    • การดูแลต่อเนี่องที่บ้านโดยทีมแพทย์ พยาบาล และอาสาสมัคร ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยและญาติพึงพอใจมาก ช่วยแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง จนกลายเป็นความพึงพอใจ ผู้ป่วยมีกำลังใจญาติมีความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น
    • ผลลัพธ์การดูแล พบว่าอัตราความพึงพอใจคิดเป็น 96 % ,ผู้ป่วยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลจากไปอย่างสงบ NO CPR และสมศักดิ์ศรีทุกราย

กิจกรรมที่ดำาเนินการต่อไป

  • โครงการชายผ้าเหลืองข้างเตียง
  • โครงการนวดแผนไทยในหอผู้ป่วย
  • จัดทำสื่อการสอน ( DVD ) ในการให้ความรู้ผู้ป่วยเรื่องการดูแลตนเองเมื่อได้รับยาเคมีบำบัด
  • พัฒนาปรับปรุงสถานที่
    • ห้อง Family meeting ในหอผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช และหอผู้ป่วยอายุรกรรม
    • ห้องสันทนาการในหอผู้ป่วยเด็ก
  • การ์์ดแสดงความเสียใจต่่อญาติผู้ป้ปว่่ย เมื่อผู้้ป่วยเสียชีวิต

ดาวน์โหลดข้อมูลฉบับเต็ม

 

หมายเลขบันทึก: 410145เขียนเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2010 21:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:39 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบคุณค่ะ เข้ามาร่วมแชร์กันเยอะ ๆ นะค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท