The seven habits of highly effective people


The seven habits of highly effective people

อุปนิสัย 7 ประการของผู้ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง (The seven habits of highly effective people)

Dr. Stephen R. Covey ได้ทำการวิจัยเพื่อวิเคราะห์อุปนิสัยของผู้ที่มีความสุขและประสบความสำเร็จอย่างสูงทั่วโลก ในรอบ 200 ปี (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2319-2519) ดังนี้

อุปนิสัยที่ 1 มีความเห็นชอบตามหลักการตามสภาพที่แท้จริงของชีวิตละโลก (Be Proactive)

หลักการคือ Natural laws or fundamental truths  มีลักษณะ ดังนี้

  • Universal, Timeless
  • Produce predictable outcomes
  • Operate with or without our understanding acceptance
  • Self-evident and enabling when understood

อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ (Begin with the end in mind)

  • ดำริชอบ (Mental creation)
  • มีจุดยืนในบทบาทและเป้าหมายบนหลักการ (Choosing a life center)
  • ตั้งปณิธาน (ออกแบบพิมพ์เขียวของชีวิต) (Personal mission statement)

เพื่อเป็นเป้าหมาย และหลักการของการตัดสินใจเพื่อดำเนินชีวิตในแต่ละวัน ในแต่ละเรื่อง

ความใฝ่ฝัน 9 ประการ

  1. ดูแลสุขภาพกายให้แข็งแรง
  2. ดูแลสุขภาพใจให้เข้มแข็ง ไม่หวั่นไหว
  3. ศึกษาความรู้เรื่องชีวิตและสังคมให้แจ่มแจ้ง แทงตลอดแล้วถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นแก่สังคมไทยและโลก
  4. ดูแลครอบครัวให้เป็นสุขและอบอุ่น
  5. ดูแลผู้มีพระคุณ พ่อ แม่ พี่ น้อง ให้มีความสุข
  6. มีเพื่อฝูง เพื่อนร่วมงาน และเครือข่าย เพื่อร่วมพัฒนาชีวิตคน และสังคม
  7. มีงานอดิเรก เพื่อพักผ่อน เช่น เล่นกีฬา ท่องเที่ยว ต้นไม้ สัตว์เลี้ยง
  8. ศึกษาศาสตร์อื่นๆ และเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
  9. ศึกษา และปฏิบัติธรรม ให้ตนเองพ้นทุกข์ และเผื่อแผ่คนอื่น หากหมดภาระหน้าที่ทางโลกแล้ว มุ่งหน้าสู่ร่วมกาสาวพักต์ เพื่อใจที่สงบเย็น

อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน (Put first thing first)

  • ดำรงชีวิตอย่างมีประสิทธิผลในตารางเวลาพื้นที่ 2
  • อะไรคือสิ่งที่สำคัญที่ต้องทำเพื่อให้สำเร็จตามปณิธาน

พื้นที่ 2 คือ

  1. Preparation
  2. Prevention
  3. Planning
  4. Relationship building
  5. True –re creation
  6. Values clarification
  7. Empowerment

ตารางการบริหารเวลา

เร่งด่วน

ไม่เร่งด่วน

  

                                     สำคัญ

กิจกรรม

  • วิกฤติ
  • ปัญหากดดัน
  • โครงการ การประชุมที่กำหนดเส้นตาย

กิจกรรม

  • การป้องกัน กิจกรรม PC
  • การสร้างความสัมพันธ์
  • การมองหาโอกาสใหม่
  • การวางแผน นันทนาการ

 

                               ไม่สำคัญ

กิจกรรม

  • การขัดจังหวะ(เสียงกริ่งโทรศัพท์บางครั้ง)
  • จดหมายบางฉบับ, รายงานบางเรื่อง
  • การประชุมบางเรื่อง
  • สิ่งกดดันใกล้ตัว
  • กิจกรรมที่นิยมชมชอบต่างๆ

กิจกรรม

  • สิ่งละอันพันละน้อย งานยุ่ง
  • จดหมายบางฉบับ
  • เสียงกริ่งโทรศัพท์บางครั้ง
  • กิจกรรมฆ่าเวลา
  • กิจกรรมแสนสนุก

 กระบวนการหกขั้นตอน

  1. เชื่อมโยงกับปณิธาน
  2. ทบทวนบทบาท
  3. กำหนดเป้าหมาย
  4. บริหารเป็นรายสัปดาห์
  5. ฝึกให้มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น (รักษาคำมั่นสัญญา)
  6. ประเมินผล

อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ-ชนะ (Think Win-Win)

  • กรอบความคิด 6 ประเภทของความสัมพันธ์ของมนุษย์

หกกรอบความคิดแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

  • ชนะ-ชนะ
  • ชนะ-แพ้
  • แพ้-ชนะ
  • แพ้-แพ้
  • ชนะอย่างเดียว
  • ชนะ-ชนะ หรือไม่ตกลง

เขียนบทชีวิตใหม่ด้วยความคิดแบบชนะ-ชนะ

สี่มิติของชนะ-ชนะ

               

                 ความใส่ใจผู้อื่นสูง

 

 

 

 

 

 

 

 

                   ความใส่ใจผู้อื่นต่ำ

 

 

 

          

                          แพ้-ชนะ

 

 

 

 

                        ชนะ-ชนะ 

 

 

                           แพ้-แพ้

 

 

 

                          ชนะ-แพ้

 

ความสมดุลระหว่างความกล้าหาญและความใส่ใจผู้อื่น

    

ความกล้าหาญต่ำ                                                            ความกล้าหาญสูง

 

 

อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา (Seek first to understand, then to be understood)

  • การวินิจฉัยโรต้องมาก่อนการจ่ายยา, ความเข้าใจได้มาจากการฟัง
  • ทักษะการฟังอย่างเข้าอกเข้าใจ

ระดับของการฟัง 5 ระดับ 

 อยู่ภายในกรอบอ้างอิงของตนเอง

  1. ไม่สนใจฟัง
  2. แกล้งทำเป็นฟัง
  3. เลือกฟัง
  4. ฟังอย่างตั้งใจ

อยู่ภายในกรอบอ้างอิงของบุคคลอื่น

  1. ฟังอย่างเข้าอกเข้าใจ

คนเราสื่อสารกันอย่างไร ใน 100% - คำพูด 7% อากับกริยา ท่าทาง 55%  วิธีการพูดและน้ำเสียง 38%

อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง (Synergize)

  • การให้คุณค่ากับความแตกต่าง
  • การสร้างสรรค์ทางเลือกที่สาม (looking for the third way (The best way))
  • มาจากการคิดแบบชนะ-ชนะ และการฟังแบบเข้าอกเข้าใจ เพื่อต้องการผนึกพลังให้เกิดผลที่มากกว่า เป็นทางเลือกที่ 3
  • ทางเลือกที่ 3 (Third alternative) ไม่ใช่ผลของการเจรจาต่อรองเพื่อหวังผลแบบประนีประนอม

อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ (Sharpen the saw)

  • สี่มิติของการเติมพลังชีวิต ควรมีการเจริญเติบโต มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
  1. ทางด้านกายภาพ (Physical Quotient) To live – ออกกำลังกาย โภชนาการ บริหารความเครียด
  2. ทางด้านอารมณ์/สังคม (Emotional & social Quotient) To love and to be love –  ร่วมรับรู้ความรู้สึก ผนึกพลังประสานความต่าง ความมั่นคงในใจ
  3. ทางด้านสติปัญญา (Intellectual Quotient) To learn – อ่าน วาดภาพในใจ วางแผน เขียน
  4. ทางด้านจิตวิญญาน (Spiritual Quotient) To leave a legacy (meaning to life)  – แจกแจงค่านิยม ปฏิบัติตามสัญญา ศึกษาและทำสมาธิ

Principles of personal effectiveness มาจากหลักธรรมคำสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนี้

  1. Responsibilities/Initiative = Be proactive = สัมมาทิฎฐิ
  2. Vision/Values/Mission = Begin with the end in mind = ดำริชอบ
  3. Integrity/Discipline = Put the first things first = ความเพียรพยายามชอบ ประกอบอาชีพชอบ
  4. Mutual Respect/Benefit = Think Win-Win = ปรารถนาดี เมตตา
  5. Mutual Understanding = Seek first to understand, then to be understood = วาจาชอบ
  6. Creative Cooperation = Synergize = สามัคคี
  7. Renewal/Continuous Development = Sharpen the saw = ปัญญา สติ สมาธิ
คำสำคัญ (Tags): #the seven habits of highly effective people
หมายเลขบันทึก: 399801เขียนเมื่อ 30 กันยายน 2010 11:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 16:36 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท