งานแปล


งานแปล

Public   administration

Jeffrey  D.  stRaussman

Department  of  public  administration

The  Maxwell   school   of citizenship  and   public  affairs       Syracuse    university

Holt,Rinehart  and   Winston

New  York  Chicago  san    Francisco   Philadelphia

Manotreal   Toronto   London     Sydney

Tokyo  mexice  city   rio   janieo  Madrid

Libray   of   congress  cataloging  in            Publiccation  data

Struassman   Jeffrey  d,1945 Public   administration

Lncludes   bibliographies   and    indox

1.            public  administration l  title

jf 1351.s863   1985   350   84-22363

ISBN   0-03-057544-4

C0pyrigt  1985  by   cbs  college  publish

Address  correspondence  to   383  madison  avenue new  York n.y.10017 all rights   reserved printed in   the united  printed  in the  united   states   of   America   published  simultaneously  in   Canada   published  simultaneously  in   canade published  simultaneously   in   Canada  678  038  9876543

Cbs   college   publishing    holt  , Rinehart and  Winston  the  Dryden  press  saundders  college  publishing

 

คำแปลหน้าปก

การบริหารรัฐกิจ

เจฟฟรี ดี. สะเตราว์แมน  

ภาคการบริหารรัฐกิจ  

สำนักประชากรและงานราชการแมกซ์เวลล์  เมืองซายราคัซ  ฮอลท์  ไรน์ฮาร์ท และวินสตัน

นิวยอร์ก ชิคาโก  ซาน ฟรานซิซโก  ฟิลาเดลเฟีย

มนทรีออล โตรอนโต  ลอนดอน ซิดนี่ย์ 

โตเกียว  แมกซิโก ริโอเดอจาเนโร มาดริด ห้องสมุดคองเกรสส์  ที่จัดข้อมูลสิ่งพิมพ์

สะเตราว์แมน เจฟฟรี ดี. ๑๙๔๕  การบริหารรัฐกิจ

รวมทั้งประวัติและภาคผนวก 

การบริหารรัฐกิจ  

1351.s863   1985   350   84-22363

ISBN   0-03-057544-4

ลิขสิทธิ์ ๑๙๘๕ วิทยาลัย ซีบีเอส จัดพิมพ์

ที่อยู่  ๓๘๓ เมดิสัน เอฟวีนิว  นิวยอร์ก ๑๐๐๑๗  สงวนลิขสิทธิ์ จัดพิมพ์ ในสหรัฐอเมริกา  จัดพิมพ์พร้อมกันในแคนาดา ๖๗๘๐๓๘  

วิทยาลัย ซีบีเอสจัดพิมพ์ ฮอลท์ ไรน์ฮาร์ท และวินสตัน  สำนักพิมพ์ดรายเดน  วิทยาลัย ซอนเดอร์จัดพิมพ์

คำนำ

Preface

If   was   the   best  times.  If  was   the worst  of times.’’  No,  I  am  not  referring  to  those   famous  lines  from  Charles  dickens’   a  tale  of  two  Cities.  I   am  talking  about  public   administration  in   the   1980s.  the  worst  of  times  is   easy;  fiscal   stress  ,   managing  with less,  reductions  in  force, cutback management¬-these  words  have  become  virtually   synonymous   with   the  study   and   practice  of  public     administration in  1980s.   the   best  of   times   is   a  little   harder.    But  paradoxically, the    very   changes   we   have  had    in   organizational   life-many  of   them   quite  painful- provide   challenges  and  opportunities  for  the  public   administrator   of  tomorrow.  Consider   just   two. First,  no  longer  can  the   public    administrator neatly separate the private and public sectors, for the have increasingly  intertwined.  Understanding  the  ramifications  of this   fact   is  indispensable  for  effective  public  management  in  the   1980s. Second, at one   time  is   was   simple to   design   and   implement  local  government   services.  After all, how  many  ways are there  to pick  up  the  garbage?  Now  it  is  not  so  simple. With  the  growing  interdependence of

The  public  and   private  sectors. The  complexity    of  our intergovernmental  system, and  the  legal  foundations  of  public  administration  surrounding  the  activities  of  the   public  manager, what  was  once simple is  simple  no  more.

                I wrote   this  book  to  capture  some  of  the  changes  that  have  come  to  public  administration.   Retrenchment is   sprinkled  throughout   the     text ,  as  are  the  link-ages  between   the   private and  public     sectors. The  legal  foundations  of public  administration,  treated  in  chapter  11,  are  now  extremely   important.  In  particular, I believe that  students  must become  familiar  with  the  growing  liabilities of public administrators and with the important role judges have come to play in the administration of the public’s business. But the book does not merely highlight the changes in public administration. On the contrary, much of the text is devoted to traditional topics organizational theory, personnel, budgeting, program evaluation, to name a few. Yet even those core subjects include newer developments in the profession. For instance, collective bargaining is so pervasive that it deserves an entire chapter. Similarly, information processing and communication are tied to decision making – a sequence that seems to make sense to me. The blending of core topics with new themes is what public administration is all about.

                Can  public administration be presented in a way that seems “real” to students? Tone and style help a lot. I have tried the soft touch, the “lighter” approach. I hope you like it. There are other features in this book in addition to writing style. Retrenchment is a theme in three case studies. :Vacancy Review in Tight Belt County”. “ A Kick in the Seat of Higher Learning,: and “ Regional Health Planning; A  Response to Declining Resources.” Implementation is treated in a separate, with ends with a long case, “ The Sitting of a Public Housing Project.” Even the titles of these case hint that state and local governments and treated more extensively in this book than in many other texts. Similarly, intergovernmental management is a major theme in Chapters 5,6,10. And 11.

                Sometimes I have invented situations to get the point across; collective bargaining in the City of Kvetech, the budget process in Dullsville, and the personnel escapades of Sally Slick. I also believe there is nothing magical about  “teaching aids.” You know already that I have included some extended case  studies. Chapter 6 ends with a case that can be used as a simulation exercise. To test the student’s understanding of  the fundamentals of evaluation, I have concluded Chapter12 with an exercise called “Project CRAP.” And ethics  remains too removed from reality unless one must make decisions that have ethical components.  That’s how I end Chapter 13. I have tried to make the book good reading by inserting items along the way that instruct, and sometimes amuse.(Why, for example, would the FBI chase a bull semen thief across Canada?) Finally, if some of the chapters encourage the student to read more,  I have provided a list of additional readings at the end of each chapter. For the student who want to dig deeper into a topic (or is given a term assignment from his or her instructor), I have included a bibliography, arranged by chapter, at the end of the book.

                Several people must be acknowledged for their assistance along the way. The people must at Hole – Marie Schappert, Herman, and  Barbara Heinssen have been very helpful. I have received valuable comments from Robert Gilmour, University of Connecticut; Kevin Mulcahy, Louisiana State University; Fred Springer, University of Missouri, St. Louis, Robert Sahr, Oregon State University; and Robert Whelan, University of New Orleans. My colleague Barry Bozeman helped me out in two ways; He chuckled in the right places, and the actually wrote “ Project CRAP: and “A kick in the Seat of Higher Learning” – and graciously “donated” them to the book. Daan Braveman and James Carroll, Jr., helped to clarify many of the  subtle issues that comprise the topics in Chapter 11. Three former students deserve special mention for their contributions. Each  prepared a case under my supervision. Jane Massey wrote “ Vacancy Review in Tight Belt County,” Michael prepared”Regional Health Planning; A Response to Declining Resources,” and  Katherine Potter did ”The Siting of a Public Housing Project.” Corinne Hunter did a superb job typing the manuscript and only once said that she was “sick of it.” My wife Jeannie, and my daughter, Deborah, won’t have to hear about it anymore. I appreciate their support.

                                                                                                                                J.D.S.

คำแปลคำนำ

แม้เป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุด แม้เป็นช่วงเวลาที่เลวร้ายที่สุด” เปล่า ข้าพเจ้ามิได้หมายถึงคำพูดที่โด่งดังจากเรื่อง ๒ นคร ของชาร์ลส์ ดิกเค่นส์แต่อย่างใด ข้าพเจ้ากำลังพูดถึงการบริหารรัฐกิจปลาย ค.ศ. ๑๙๘๐ คราวที่เลวร้ายที่สุดนั้นง่าย ความกดดันเรื่องงบประมาณ การจัดการด้วยปัจจัยที่มีอยู่น้อย การลดกำลังพล การจัดการสิ่งต่างๆที่ลดลง  คำเหล่านี้ได้กลายเป็นเหมือนการศึกษาและแนวปฏิบัติของการบริหารรัฐกิจช่วงปลาย ค.ศ. ๑๙๘๐ ช่วงเวลาที่ดีที่สุด เป็นความยากลำบาก แต่ดูจะขัดแย้งกัน ความเปลี่ยนแปลงมากมายที่เกิดขึ้นในองค์กร หลายอย่างที่เป็นความเจ็บปวดมักให้ความเปลี่ยนแปลงและโอกาสสำหรับผู้บริหารราชการ แห่งอนาคต ลองพิจารณาสองข้อนี้ ๑. ผู้บริหารราชการเกือบจะไม่แยกภาคราชการกับภาคเอกชนอีกต่อไป เพราะว่าพวกเขาคาบเกี่ยวกันมาก ความเข้าใจการแตกิ่งก้านของความจริงข้อนี้ เป็นความจำเป้นสำหรับการจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพในปลาย ค.ศ.  ๑๙๘๐  และ ๒. ณ เวลาหนึ่งเป็นเรื่องง่ายที่จะออกแบบ และจัดการงานของรัฐบาลท้องถิ่นให้สำเร็จ อย่างไรก็ตาม มีมีแนวทางมากเท่าไรที่จะเก็บขยะ  ปัจจุบันมันไม่ง่ายแล้ว ยิ่งขึ้น เพราะภาครัฐและเอกชนต้องพึ่งพาอาศัยกันมากขึ้น ความซับซ้อนของระบบราชการ และการตรากฎหมายในการบริหารราชการซึ่งครอบคลุมงานต่างๆของผู้บริหารหน่วยงานรัฐ ซึ่งครั้งหนึ่งเป็นเรื่องง่ายก็ไม่ง่ายอีกต่อไป

ข้าพเจ้าเขียนหนังสือเล่มนี้ เพื่อหยิบยกเอาความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในการบริหารราชการ การตัดทอนจะมีอยู่ตลอดทั้งเล่มแต่จะเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานรัฐกับเอกชน การตรากฎหมายในการบริหารราชการมีอยู่ในบทที่ ๑๑ ซึ่งปัจจุบันสำคัญมาก ข้าพเจ้าเชื่อว่า นักศึกศึกษาต้องคุ้นกับความรับผิดชอบ ที่มากขึ้นของผู้บริหารภาครัฐ และการตัดสินบทบาททที่สำคัญนั้นอยู่ที่การบริหารงานราชการต่างๆ แต่หนังสือนี้ไม่เน้นความเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานราชการ ตรงกันข้าม ส่วนใหญ่ของหนังสือจะอุทิศให้กับ เรื่องดั้งเดิมคือ ทฤษฎีองค์กร บุคลากร งบประมาณ การประเมินโครงการ เป็นต้น กระนั้น เรื่องที่เป็นแก่นเหล่านนี้ รวมไปถึงพัฒนาการวิชาชีพใหม่ๆ เช่น การต่อรองที่แพร่หลายจนกระทั่งควรจะเป็นหนึ่งบทเต็มๆ ทำนองเดียวกัน การจัดการข้อมูลและการสื่อสาร เกี่ยวเกาะอยู่กับการตัดสินใจ การกลั่นกรองเรื่องสำคัญๆกับเรื่องใหม่เป็นสิ่งที่การบริหารรัฐกิจเกี่ยวข้องอยู่ทั้งหมด

การบริหารรัฐกิจปรากฏในแนวที่ดูเหมือนว่า “ เป็นจริง” สำหรับนักศึกษา แนวคิดและวิธีการ จะช่วยได้มาก ข้าพเจ้าจะพยายามแตะเบาๆ  วิธีการ”เบาๆ” จึงหวังว่าพวกคุณจะชอบมัน ในหนังสือนี้ นอกจากวิธีการเขียนแล้วยังมีลักษณะอื่นๆอีก การลดทอนเป็นหัวข้อในกรณีศึกา ๓ กรณี คือ “ การพิจารณาการง่วงงานในประเทศที่รัดเข้มขัด”  “การเขี่ยเข้าไปนั่งเรียนในระดับอุดมศึฏษา” และ “การวางแผนสุขภาพระดับภาค; การตอบสนองทรัพยากรที่ลดลง”  การทำให้เกิดผลจะมีอยู่ในบทหนึ่งต่างหาก โดยมีจุดหมายพร้อมตัวอย่างยึดยาว  “ การจัดตั้งโครงการอาคารสงเคราะห์”   ตัวอย่างเหล่านี้จะบอกเล่ารัฐบาลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น  ในหนังสือนี้ มีมากกว่าหนังสือเล่มใด ขณะเดียวกัน การจัดการระหว่างรัฐเป็นสาระสำคัญมีอยู่ในบทที่ ๕ ๖ ๑๐ และ ๑๑ 

                บางครั้งข้าพเจ้าก็สร้างสถานการณ์ เพื่อให้ได้จุดที่ครอบคลุม เช่นการต่อรองในเมืองเควีเทค กระบวนการงบประมาณในดัลลส์ไวลล์ และ การไหลออกของบุคคลเมืองแซลลี่ สลิกค์ ข้าพเจ้าเชื่อด้วยว่า ไม่มีอะไรน่าอัศจรรย์ เท่ากับ “ อุปกรณ์การสอน”  พวกคุณคงรู้แล้วว่า ข้าพเจ้าได้รวมเอากรณีศึกษาที่กว้างบางกรณี บทที่ ๖ จบด้วยตัวอย่าง ที่สามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดเลียนแบบได้ เพื่อทดสอบความเข้าใจพื้นฐานการประเมินค่าของนักศึกษา ข้าพเจ้าได้รวมเอาแบบฝึกหัดที่เรียกว่า “ โครงการ ซีอาร์เอพี” ไว้ในบทที่ ๑๒ และ หลักศีลธรรมก็มีอยู่ด้วย จะไม่มีเลยหากบุคคลไม่ตัดสินใจที่มีองค์ประกอบทางศีลธรรม ข้าพเจ้าจบบทที่ ๑๓ อย่างนี้  พยายามทำหนังสือให้ดี น่าอ่าน โดยใส่ตัวอย่างพร้อมตัวอย่างที่สอน ( เช่น เอฟบีไอวิ่งไล่ตาม คนขโมยวัวไปทั่วแคนาดา ) สุดท้าหากบางบทจะส่งเสริมให้นักศึกษาให้อ่านมากขึ้น ก็จะให้ รายการหนังสือที่ต้องไปอ่านในตอนท้ายของแต่ละบท สำหรับนักศึกษาที่ต้องการจะรู้ให้ลึกต่อไปอีก ตอนท้ายหนังสือ ได้รวมเอาประวัติมาจัดไว้ ๑ บท

                หลายคนสมควรได้รับการยกย่องสำหรับการช่วยเหลือของพวกเขา แมรี่ แชปเพอต และบาร์บาล่า ไฮน์เซน มีอุปการะมาก ข้าพเจ้าได้รับคำแนะนำที่มีค่าจาก โรเบิร์ต กิลมอร์ มหาวิทยาลัยคอนเนกติกัต  เควิน มัลคาไฮ มหาวิทยาลัยหลุยเซียน่า สเตต  เฟรด สะปริงเกอร์ มหาวิทยาลัย มิซซูรี่ เซนหลุยส์  โรเบิร์ต ซาหร์ มหาวิทยาลัย โอรีกอน สะเตต และโรเบิร์ต วีแลน มหาวิทยาลัย นิวออลีน บอร์รี่ โบซแมน เพื่อนของข้าพเจ้า ช่วยเหลือข้าพเจ้า ๒ ทาง คือหัวเราะเบาๆ ตรงที่ๆถูกต้อง และเขียน  “ โครงการซีอาร์เอพี” และ “ เขี่ยเข้าไปนั่งเรียนระดับอุดมศึกษา” และอุทิศตัวพวกเขาให้แก่หนังสือเล่มนี้ด้วยความขอบคุณ  ดีน เบรพแมน และเจมส์ แคร์รอลล์ ช่วยให้เรื่องเล็กน้อยมีควาชัดเจน ในบทที่ ๑๑ อดีตนักศึกษา ๓ คนสมควรได้รับการกล่าวถึงเป็นพิเศษในการช่วยเหลือ แต่ละคนเตรียมตัวอย่างตามที่ข้าพเจ้าแนะนำ เจน แมซซี่ เขียน  “ การพิจารณาการง่วงงานในประเทศที่รัดเข้มขัด”  ไมเคิล จัดเตรียม “การวางแผนสุขภาพระดับภาค; การตอบสนองทรัพยากรที่ลดลง”  และ แคทเธอรีน พอตเตอร์ จัดเตรียม “ การจัดตั้งโครงการอาคารสงเคราะห์”   คอไรน์ ฮันเตอร์ จัดเตรียมงานเล็กน้อยคือ พิมพ์ ต้นฉบับ จินนี่ ภริยาของข้าพเจ้า และเดโบร่าห์ ลูกสาว ไมยอมรับรู้อะไรเลย ข้าพเจ้าซาบซึ้งกับการสนับสนุนเหล่านี้ของพวกเขา

จี.ดี.เอส.

 

 

 

 

สารบัญ

Contents

CHAPTER 1 the  public    sector  in  flux   1

บทที่                                                                                                                                                       หน้า

๑              การเปลี่ยนแปลงภาครัฐ                                                                                                              ๑

 “faceless”  Government                                                                                                                                 2

รัฐบาล “ ไร้โฉมหน้า                                                                                                                                                         ๒

The Laissez Faire That Never Was?                                                                                                             5

   นโยบายการไม่แทรกแซงซึ่งไม่เคยปรากฏ  

a   new mood                                                                                                                                                7                                             

Back to Orwell                                                                                                                                                                   13

ย้อนกลับไปหา ออร์เวล                                                                                                      ๑๓

Withering Away of the State ?                                                                                                                                     16

การค่อยหายไปของรัฐ                                                                                                                     ๑๖

Three Broad Functions of Government                                                                                                                       16

หน้าที่กว้างๆสามประการของรัฐบาล                                                                                                   ๑๖

Summary                                                                                                                                                                              19

สรุป                                                                                                                                                           ๑๙

CHAPTER 2  Public Agencies: The Coming and Going of Organization                                                       22

หน่วยงานของรัฐ: การมาและการสูญสลายขององค์กร                                                                                              ๒๒

Birth                                                                                                                                                                                      22

Bureaucratic Politics of Organizational Growth                                                                                                       31

    การเกิดขององค์กร              

การปกครองระบบราชการกับการเติบโตชององค์กร                                                                                      ๓๑

Bureaucratic Politics of Organizational  Maintenance                                                                            36

การปกครองระบบบบราชการกับการรักษาองค์กร                                                       ๓๖

Organizational Death                                                                                                                                        40

การล่มสลายขององค์กร                                                                                                     ๔๐

สรุป  

Summary

CHAPTER3 Organization Theory                                                                                                                                47

๓            ทฤษฎีองค์กร                                                                                                                        ๔๗

 

                The Concept of Bureaucracy                                                                                                          48

ความคิดว่าด้วยระบบราชการ                                                                                            ๔๘

                “Scientific” Management                                                                                                                 51

       การจัดการ “เชิงวิทยาศาสตร์”                                                                                        ๕๑

                The :Principles” School                                                                                                                   53

               สำนักทฤษฎี                                                                                                                                     ๕๓

                Tenets of Human Relations                                                                                                             56

               ความเชื่อเรื่องมนุษย์สัมพันธ์                                                                                       56

                Decision Making                                                                                                                                                 63

         การตัดสินใจ                                                                                                63               ๖๓

                Pathologies of Public Bureaucracy                                                                                                                  66

โรควิทยาของระบบราชการ                                                                                                    ๖๖

Summary                                                                                                                                                                              71

สรุป                                                                                                                                                                                         ๗๑

CHAPTER4  Public Management                                                                                                                                75

  การจัดการรัฐกิจ                                                                                                                   ๗๕

                Who is a Manager ?                                                                                                                          75

ใครคือผู้จัดการ                                                                                                                     ๗๕

                The Resources of Management                                                                                                      77

ทรัพยากรของการจัดการ                                                                                                   ๗๗

Is Public Management Different ?                                                                                                                                79

การจัดการรัฐกิจแตกต่างไหม                                                                                            ๗๙

Deciding When to Manage                                                             &nbsp

คำสำคัญ (Tags): #งานแปล
หมายเลขบันทึก: 392336เขียนเมื่อ 9 กันยายน 2010 08:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 มิถุนายน 2012 10:27 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท