ประชุมคณะทำงานบูรณาการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร ปี 2553


ความปลดภัยด้านอาหาร ครั้งที่ 2 / 2553

ประชุมคณะทำงานบูรณาการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร ปี 2553

วันที่ 2  กันยายน  2553  ณ. ห้องประชุมสาธารณะสุขพะเยา  2

ผู้เข้าร่วมประชุม

1. ผู้แทนเกษตรจังหวัด           2. ผู้แทนประมงจังหวัด

3. ผู่แทนปศุสัตว์จังหวัด         4. ผู้แทนสาะรณสุขจังหวั

5. ผู้แทนท้องถิ่นจังหวัด         6. ผู้แทนมูลนิธิพะเยาพัฒนา

7. ผู้แทน อบจ. พะเยา           8. ผู้แทนโรงพยาบาลพะเยา

9. ผู้แทนพาณิชย์จังหวัด       10. สำนักงานปกครองจังหวัด

11. เทศบาลเมืองพะเยา        12. นายฉลอง 

 

วาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งให้ทราบ 

                  แผนบูรณาการความปลอดภัยด้านอาหารจังหวัดพะเยา  ปี 2553 มี  3 ประเด็น

   1. การพัฒนาบุคคลากรหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

        - การประชุมทพแผนบูรณาการ  1  ครั้ง เมื่อเดือน  มกราคม  2553

        - สนับสนับสนุนแผนที่ทางเดินอาหาร 14 ตำบล

        - จัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์

        - อบรมร้านค้า

        - พัฒนาศํกยภาพเจ้าหน้าที่ระดับ ตำบล / อำเภอ

        - การเฝ้าระวังโรคจากอาหาร

        - รวบรวมผลการดำเนินงานตามการทำแผน

        - การติดตาม/ประเมินผล/รายงาน

   2. การกำกับดูแลด้านอาหารปลอดภัย

   3. การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค

 

 สรุปผลการดำเนินงาน

   1. หน่วยงานสาธารณะสุขจังหวัด

         1.1 อุบัติการณ์การเกิดเนื่องจากอาหาร

                 โรค                            อัตราป่วยต่อประชากรแนคน

             อาหารเป็นพิษ                           221.51

             Streptococcs  suis                    21

             Choiera                                    4.32

              รวม                                       226.24

อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น                                                   จำนวนผู้ป่วย

       1. อาหารเป็นพิษจากเชื่อ Staphyiococcus aureus         309

       2.  อาหารเป็นพิษจากติดเชื้อ Streptococcus                  21 

       3.  อาหรเป็นพิษจากอหิวาตกโรค                                   5

       4. อาหารเป็นพิษ 3 พื้นที่

            อ. เชียงม่วน                                                        5

            อ. ภูกามยาว                                                        1

            อ. เมืองพะเยา                                                      7

2. ผลการตรวจคุณภาพมาตรฐานของสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์อาหาร

        2.1  ตลาด ผ่านเกณฑ์  25 จจาก 32 แห่ง หรือร้อยละ 78.13

        2.2 ร้านอาหาร / แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT 593 จจาก 600 ร้อยละ 89.90

        2.3 สถานที่ผลิตอาหร ผ่าน 122  จาก 161 แห่ง

        2.4 ผลิตภัณฑ์อาหาร

                - อาหารสด ปนเปื่อน 6 ชนิด ร้อยละ 99.82

                - อาหารอื่น ๆ ได้มาตรฐานร้อยละ  99.82

 3. สรุปผลการรับรู้และความเข้าใจด้านอาหารปลอดภัยและพฤติกรรมการบริโภค 1,490 คน

           -รับรู้ข้อมูลข่าวสาร  ร้อยละ  97.11

           -รับรู้การบงบอกถึงโรคอาหารเป็นพิษ ร้อยละ  79.73

           -รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากอาหารปลอดภัยอย่างเพียงพอร้อยละ 56.64

           - ประชาชนมีความรุ้กับอาหารปลอดภัยร้อยละ  80.54

           - ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยร้อยละ  75.64

 

ปัจจัยการเอื้อประโยชน์ต่อการทำงาน

          1. ดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาคีภาครัฐ  ท้องถิ่นและเอกชน

          2. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง

          3. ดำเนินการด้วยกระบวนการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กองทุนสุขภาพ

 

ปัญหาอุปสรรค

          1.การพัฒนาสถานประกอบการด้านตลาด ร้านอาหาร แผงลอย รวมทั้งสถานที่ผลิตอาหารต้องใช้เงินทุนในการพัฒนาค่อนข้างยาก

          2. ผู้ประกอบการขาดการตระถึงความปลอดภัยผู้บริโภค ทำให้สถานที่ประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแล้วไม่รักษามาตรฐาน

          3. ท้องถิ่นไม่กำหนดเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ ทำให้อาคารไม่ถูกสุขลักษณะ

          4. ผู้บริโภคไม่มีส่วนร่วมในการพัฒนา มีค่านิยมซื้ออาหารที่ไม่ปลอดภัย

 

แนวทางแก้ไข

          1. ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสบริโภคเลือกซื้ออาหารปลอดภัย

          2. สร้างความเข้าใจให้ท้องถิ่นใช้อำนาจตามกฎหมายที่มีอยู่

          3. พัฒนาศักยภาพภาคี

          4. มาตรฐานอาหารปลอดภัย ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการไม่เห็นความสำคัญ เนื่องจากราคาไม่แตกต่างกัน

          5. ราคาสินค้าปลอดภัยไม่แตกต่างกัน

          6. ราคาสินมีผลต่อการจูงใจต่อผู้ผลิต/ผู้บริโภค

          7. ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการรับภาระต่อการพัฒนาอาหารปลอดภัย

          8. การบูรณาการการพัฒนา เจ้าหน้าที่ ไม่ประชาสัมพันธ์ให้ครบถ้วน ผู้บริโภคไม่ได้รับข้อมูลครบถ้วน

          

                     

คำสำคัญ (Tags): #อาหารปลอดภัย
หมายเลขบันทึก: 390296เขียนเมื่อ 2 กันยายน 2010 15:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤษภาคม 2012 12:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท