โลกที่ไม่สมดุล


ะหว่างชุมชนท้องถิ่นกับชุมชนชาวเมือง จนท้ายที่สุดก็จะกลายเป็นความขัดแย้ง ระหว่างระบบทุนนิยมกับเกษตรพอเพียงการแย่งชิงทรัพยากร

หลาย100ปีแล้วนะที่เกิดกระบวนการแปลเปลี่ยนทางสังคม จากเกษตรกรรมมาเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ผมกำลังสงสัยว่าทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งมักเกิดขึ้น จากรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบหนึ่ง ณ วันนี้การพัฒนาเหล่านนั้นเริ่มมีขีดจำกัดมากขึ้นในระดับใหญ่ หากพิจารณาดู เราจะเริ่มรู้ตัวว่าปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจำกัดนั้นเกิดขึ้นจากทรัพยากรที่ เริ่มลดลง หมดไป เพราะถูกเสริมเข้าสู่ระบบอุตสาหรกรรมขนาดใหญ่

ชาว เมืองหลวงที่ หาอาหารจาก ตลาดและห้างร้านขนาดใหญ่ จะทราบได้อย่างไร ว่าทรัพยากรธรรมชาติที่มีเริ่มลดลง ชาวเมืองกลับเลือกใช้กระบวนการทางสังคมขนาดใหญ่ในการเริ่มสร้างข้อขัดแย้ง ระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับชุมชนชาวเมือง จนท้ายที่สุดก็จะกลายเป็นความขัดแย้ง ระหว่างระบบทุนนิยมกับเกษตรพอเพียง ไม่เพียงเท่านั้นหรอกที่เป็นต้นตอของปัญหาโดยตรง สิ่งต่างๆที่เล่ามานั้นเป็นเพียง ฉากของระบบทุนนิยมในการปิดบังปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรโดยผู้เป็นนายทุน แล้วใครกันเล่าที่เป็นผู้ประสบปัญหาแท้จริง

หมายเลขบันทึก: 384293เขียนเมื่อ 13 สิงหาคม 2010 00:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 15:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ไม่อนุญาตให้แสดงความเห็น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท