เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับทฤษฎี


ทั่วไป

   ทฤษฎีการศึกษาการเมืองการปกครองไทย

     * การมองการเมืองโดยพิจารณาไปที่สิ่งที่เรียกว่า รัฐกับสังคม คนที่เป็นต้นตำรับคือ ศาสตราจารย์ ชัยอันนต์ สมุทวณิช แนวคิดนี้ จะพยามย้ำถึงความสัมพันธ์ว่า รัฐกับการเมืองมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ปกติแล้วคุณจะสังเกตว่า ถ้าสมมติว่าหนังสือการเมืองการปกครองไทยที่เน้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ มีการเน้นตามทฤษฎี จะต้องพูดต้องพูดถึงเรื่องทางสังคมให้มากกว่านี้ คุณสังเกตไหมพอเปิดหนังสือขึ้นมา อาณาจักรสุโขทัยยคุณจะเจออะไร พ่อขุนรามคำแหงปกครองแบบพ่อปกครองลูก ตรงนี้จะมีมุมมองเกี่ยวกับเรื่อง ของระบบการปกครองแต่ไม่มีมุมมองเกี่ยวกับสังคมมากเท่าไร ว่าสังคมเขาทำไรในสมัยสุโขทัยความเท่าเทียมแค่ไหน การแต่งตัวเป็นอย่างไร อาจมีเรื่องความสัมพันธ์ของผผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครองอยู่ แต่ความสัมพันธ์ระห่วางผู้ใต้ปกครองกับข้าราชการของพ่อขุนรามคำแหงเป็นแบบไหน มันมีน้อย แสดงว่าหนังสือการเมืองการปกครองไทนที่ไม่ได้เน้นตามทฤษฎีรัฐและสังคม มันไม่ได้เน้นไปทางไปทางนั้น มันเน้นไปทางทฤษฎีรัฐ แต่อ่อนยวบทางสังคม

  ทฤษฎีตามแนวคิดของนิวแมน(Neuman System Model)

แนวคิดหลักของทฤษฎีระบบของนิวแมนให้ความสำคัญกับระบบบุคคลและระดับการปรับตัวของสุขภาพ ซึ่งได้พัฒนาขึ้นตามช่วงเวลาและภาวะปกติของบุคคล

ข้อตกลงเบื้องต้น(Assumptions)

1.แม้ว่าผู้รับบริการแต่ละคน หรือกลุ่มในฐานะระบบของผู้รับบริการจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตนระบบแต่ละระบบจะประกอบด้วยปัจจัยร่วม หรือลักษณะภายในซึ่งมีขอบเขตปกติ ของการตอบสนอง ในมาตรฐานเดียวกัน

ทฤษฎีความขัดแย้ง

  ทฤษฎีความขัดแย้ง เป็นทฤษฎีที่มีรากฐานของสมมุติฐานที่ว่าสังคม คือ ระบบที่มีลักษณะซับซ้อนของความไม่เท่าเทียมกัน(lnequality)และความขัดแย้ง(Conflict) ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคม(Macionis 1993:19)ทฤษฎีความขัดแย้งทางสังคมเป็นทฤษฎีที่สนับสนุนให้ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ใความสมบูรณ์ขึ้น กล่าวคือ ทฤษฎีความขัดแย้งทางสังคมมีแนวความคิดว่า สังคมนั้นไม่ได้มีความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม นักสังคมวิทยากลุ่มความขัดแย้งทางสังคมจะพยายามค้นหาว่า ปัจจัยต่างๆ เช่น ชั้นทางสังคมเชื้อชาติ กลุ่มชน เพศและอายุ มีความเกี่ยวพันกับความไม่เท่าเทียมของการกระจายทรัพยากรที่มีคุณคำในสังคม ได้แก่ เงิน อำนาจ การศึกษา และเกียรติยศทางสังคมอย่างไร นอกจากนี้นักวิชาการในกลุ่มความขัดแย้งทางสังคมจะมองว่า ในสังเกิดการแข่งขันกันเพราะในสังคมมีความขัดแย้งกันอันเนื่องมาจากคนกลุ่มต่างๆในสังคมได้รับผลประโยชน์และผลตอบแทนที่ไม่เท่าเทียมกัน สิ่งตอบแทนและผลประโยชน์ที่คนในสังคมได้รับมีความแตกต่างกันออกไปตามตำแหน่งและหน้าที่ทางสังคม นักสังคมวิทยาในกลุ่มนี้ยังมองว่า สังคมมีความขัดแย้งกันอย่างกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้สังคมมีการเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงตามมา

   ทฤษฎีจำนวนพิกเซลที่สามารถแก้ไขได้ optically ในเรื่องที่ไม่ใช่ระนาบ

 ในระบบภาพปกติความลึกของข้อมูลเป็นสัดส่วนผกผัน-แสงเลนส์ ถ้าเราถือว่าระบบของการเลี้ยวเบน จำกัด จากนั้นความละเอียดสูงสุด(พิกเซลเช่นต่อ มม.)เป็นสัดส่วนกับแสงเลนส์จึงมี tradeoff ระห่วางความลึกของข้อมูลและความละเอียดเป็น tradeoff นี้สร้างบน จำกัด จำนวนพิกเซลที่สามารถแก้ไขได้ในเรื่อง nonplanar กระดาษนี้นำเสนอทฤษฎี จำกัด จำนานพิกเซล derivations การแสดงวงเงินที่ จำกัด อยู่เฉพาะเรื่องการทำงานของขนาดและความลึก เรื่องระยะทางยาวโฟกัสและขนาดเซ็นเซอร์ไม่ได้เรื่อง สำหรับเรื่องเล็ก จำกัด เป็นต่างความสามารถของระบบภาพที่ทันสมัย ตัวอย่างเช่นเรื่อง 15 ซม. และลึก 10 เซนติเมตรสามารถถูก Imaged กับ 300,000 พิกเซลแม้เซ็นเซอร์กับ 10ครั้งที่พิกเซลจำนวนมากใช้ง้าย จำกัด ทำให้มีการใช้งานที่ชัดเจอในการมองเห็นเครื่องโดยเฉพาะเมื่อแสงระบุและจับภาพ ผลการทดลองมีไว้เพื่อตรวจสอบผลหลักของกระดาษ

  ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญา (Cognitivism)

      ตั้งแต่ปี ค.ศ.1960 นักทฤษฎีการเรียนรู้เริ่มตระหนักว่า การที่จะเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์นั้น จะต้องผ่านการพิจารณา ไตร่ตรอง การคิด(Thinkibnd)เช่นเดียวกับพฤติกรรมและควรเริ่มสร้างแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ในทรรศนะของ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด(Mental change)มากกว่าการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม ดังนั้นจึงมี การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากความสนใจเกี่ยวกับการตอบสนอง

หมายเลขบันทึก: 377537เขียนเมื่อ 21 กรกฎาคม 2010 21:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 13:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ไม่สงวนสิทธิ์ใดๆจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เยี่ยมจริง ๆ อธิบายได้ดีจริง ๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท