ฟีโรโมนส์ช่วยแยกการผสมต่างสปีชีส์


ฟีโรโมนส์ช่วยแยกการผสมต่างสปีชีส์

ตัวมอธข้าวโพด corn borer moths (Ostrinia nubilalis) ตัวเมียจะปล่อยสารไขมันชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นฟีโรโมนในการดึงดูดตัวผู้มาผสมพันธุ์ เคยมีการทดลองในยุโรปถ้ากักสารฟีโรโมนนี้ได้ แมลงตัวผู้ก็มาหาตัวเมียไม่ถูก ก็ไม่รบกวนข้าวโพด แต่วิธีการเดียวกันนี้ใช้ไม่ได้ผลกับมอธในแถบอเมริกา เนื่องจากผลิตสารฟีโรโมนที่มีความแตกต่างกันในโครงสร้าง
ยีนที่เกี่ยวข้องในการฟีโรโมนในมอธ รู้แล้วว่าเป็น FAR-E และ FAR-Z (ในอเมริกา) ยีนนี้เก็บรหัสเอนไซม์ fatty-acyl reductase แต่ยีนรับรู้กลิ่นฟีโรโมนในตัวผู้ยังไม่รู้จัก
การที่รับรู้ฟีโรโมนต่างกัน ทำให้ต่างสปีชีส์กัน มักไม่มาเจอผสมพันธุ์กัน

อ้าง
http://www.newscientist.com/article/mg20727674.400-on-the-origin-of-species--by-means-of-pheromones.html

หมายเลขบันทึก: 372881เขียนเมื่อ 7 กรกฎาคม 2010 22:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 พฤษภาคม 2012 10:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท