อบรม ผบก ปี ๒๕๕๓ : การประเมินโครงการ


 การประเมินโครงการ    การวิจัยเชิงประเมิน  โดย  ดร สุทธาสินี  บุญญาพิทักษ์      

โครงการ  คือแผนงานย่อย

ลักษณะของโครงการ

กำหนดออกแบบโครงการ   ดำเนินการตามโครงการ   การประเมินโครงการ

ลักษณะ โครงการที่ดี่

1 วัตถุประสงค์

2 สามารถ แก้ปัญหา องค์กร สังคม ได้

3 มีข้อมูลจริง ที่มาจากความเป็นจริง   วิเเคราะห์ รอบคอบ

 

ปัญหา การเขียนโครงการ

1 ขาดความรู้ในการเขียนโครงการ  ขาดข้อมูลที่ชัดเจน

2 วัตถุประสงค์ และเป้าหมายไม่ชัดเจน  ไม่สามารถ ตรวจสอบ ตวบคุม ติดตามผล

3 การประเมินโครงการ ขาดเครื่องมือ ที่ใช้วัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4 การประเมินโครงการ  ขาดเกณฑ์การตัดสินใจ  ตัดสินคุณค่า

 

ความหมายของการประเมืน   Evaluation

1 การตัดสินคุณค่าของสิ่งหนึ่งสิ่งใด  อย่างมีหลักเกณฑ์

2 กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจ

3 ใช้กระบวนการวิจัย ในการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ  เกี่ยวกับเนื้อหา  

โครงสร้าง  และ ผลลัพธ์ของแผนงาน   โครงการ   และสิ่งที่ถูก จัดกระทำต่างๆ

การวิจัย เชิงประเมิน    การประเมิน  โครงการ  โดยใช้หลักการ ทางการวิจัย

ความหมาย   ของการประเมิน   Assessment

เช่นการป้องกัน  รักษา ผู้ป่วยเอดส์   ประเมินความก้าวหน้า   ของการดูแล

เป็นระยะ    เช่นการดูแลเป็นราย วัตถุประสงค์ ประเมอนเป็นระยะ  

ประเมิน เพื่อการพัฒนา 

 

การประเมินในความหมายวิจัย

Evaluation  Reserch 

ประเด็น                 การประเมิน                                            การวิจัย

                       ต้องการประเมิน เพื่อการตัดสินใจ            ต้องการความรู้ใหม่ 

การนำไปใช้        หาทางเลือก ทางการปฏิบัตทีดี่            สร้างทฤษฎี องคืความรู้

เกณฑ์การตัดสิน     เที่ยงตรงภายใน                            เที่ยวตรงภายใน และนอก

 

ทำไมต้องประเมินโครงการ  

1 การประเมิน   คือ ระบบย่อย   ของการวางแผน และบริหาร โครงการ

2 ช่วยปรุบปรุง และพัฒนางาน   โครกงาร

3 เพื่อตัดสิน ระดับผลสัมฤทธิ์ ของงาน  โครงการ

4 ช่วยให้ผู้บริหารใช้ผลประเมิน เป็นฐานการตัดสินใจ เกี่ยวกับ โครงการ 

 

ประเภท ของการประเมิน

ประเมินความก้าวหน้า   Formative Evaluation  เช่นโครงการจิตบริการ   วัด จิตบริการ

ประเมิน เพื่อสรุป         Summaive Evaluation

 

ประเภทของการประเมิน

1 ยึดเป้าหมายโครงการเป็นเกณฑ์  นำผลก่ารวัดเปรียบเทียบ กับเป้าหมาย เชิงปริมาณ

คุณภาพ

2 อิสระ จากเป้าหมาย   ไม่คำนึงเป้าหมายโครงการ 

ประเภท  การประเมิน

แบ่งตามเวลา  ก่อนดำเนิน โครงการ   ระหว่างดำเนินโครงการ  สิ้นสุดโครงการ

แบ่งตามข้อมูล  ปริมาณ คุณภาพ

แบ่งตามวิธีการประเมิน

เชิงปริมาณ  หรือ  เป็นการแสวงหาคำตอบ สำหรับคำถามการประเมิน 

คล้ายวิจัยเชิงปริมาณ 

เชิงคุณภาพ   หรือ เชิง ธรรมชาติ แสวงหาคำตอบ  สำหรับคำถามการประเมิน

โดยกระบวนการเป็นระบบ  เชิงปรัชญา ปรากฎการณ์นิยม  รวบรวมสารสนเทศ

ภาคสนาม   ด้วยหลักการวิจัย เชิงคุณภาพ   วิเคราะห์ เปรียบเทียบ

วิเคราะห์ เนื้อหา  เน้นคุณค่า  ของผู้ที่มีส่วนร่วม ในการประเมิน

ไม่เน้นการเปรียบเทียบ กับเกณฑ์ตายตัว

 

การประเมินเชิงปริมาณ

1 การประเมินอิงวัตถุประสงค์

2 การประเมินเน้นการตัดสิยใจ

3 การประเมิน การฝึกอบรม และการพัฒนา

 

การประเมินเชิงคุณภาพ    การประเมิน แบบรวมพลัง 

แนวโน้มการประเมิน

ครอบคลุมหลายมิติ    ใช้ข้อมูล เครื่องมือ  และผู้ประเมิน  หลากลาย 

เน้นการมีส่วนร่วม   สนองความต้องการผุ้เกี่ยวข้อง  พัฒนาสิ่งที่ประเมินเป็นรุปธรรม

 

บทบาทนักประเมิน 

1 นักประเมินภายใน

2 นักประเมินภายนอก

 

 

 

 

                                                                                             

                          

 

หมายเลขบันทึก: 372679เขียนเมื่อ 7 กรกฎาคม 2010 10:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 กรกฎาคม 2014 15:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท