part of thesis propasal


ถ้างานนี้ได้รับการ spill over ไปยังงานสาขาอื่นๆ จะมีคุณค่าอนันต์ต่อสังคม



แผนการวิจัย

 

1. สมมติฐาน (Hypothesis)

 

1.1 วิธีเดิมกับวิธีใหม่ได้ผลเช่นเดียวกัน

 

2. วัสดุและอุปกรณ์ (Materials and Equipments)

 

2.1 พืชที่ใช้ในการทดลอง

เลือกใช้พืช 3 ชนิด คือ บวบหอม กระเจี๊ยบเขียว และ ถั่วฝักยาว เพราะเป็นพืชที่ส่งเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่คนจนสามารถปลูกแบบพึ่งพาตเองได้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.2 ระบบปฏิบัติการ ลินนุกซ์

2.3 โปรแกรมแมทเวค

2.4 โปรแกรมอาร์

2.5 เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ

 

3. วิธีการ (Methodology)

 

3.1 ข้อมูลที่ใช้ศึกษา

ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้จากการทดลองปลูกพืช 3 ชนิด วัดผลผลิตโดยดูจาก ความยาว ของ (ฝัก ผล ใบ)

 

3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

ใช้เทคนิค Monte Carlo Simulation โดยการจำลองประชากรด้วยคอมพิวเตอร์ ในการตรวจหาความถูกต้องของตัวแบบ ใช้ open source operating system Linux ตามแนวพระราชดำริที่พึ่งพาตนเอง และไม่เสียเงินและจะวิเคราะห์ผลด้วย Matvec (Wang, 1992) โดยวิธีที่กล่าวมาแล้วข้างต้น (รูปที่ 2)

 

 

 

 

4. ตารางแผนงานวิจัย (Timetable)

 

ลำดับ

รายละเอียดกิจกรรม

ช่วงเวลา

 

เม..

..

มิ..

..

..

..

..

1.

ศึกษาข้อมูลเพาะปลูก พืช 3 ชนิด แบบผสมผสาน

 

 

 

 

 

 

 

2.

ตรวจเอกสาร

เก็บข้อมูลด้วยวิธีแจงนับ

 

 

 

 

 

 

 

3.

วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Linux

และ Matvec

 

 

 

 

 

 

 

4.

เขียนรายงานและสรุปผลการทดลอง

สอบความรู้ขั้นสุดท้าย

ส่งรูปเล่มวิทยานิพนธ์

ส่งตีพิมพ์ต่างประเทศ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สถานที่และระยะเวลาทำการวิจัย

 

ได้มีการดำเนินการทดลองตามแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ บ้านเลขที่ 1/1169 . ทุ่งกระพังโหม อ. กำแพงแสน จ. นครปฐม มีแหล่งน้ำตลอดปีเป็น the first LF จากการขุดดินเพื่อนำไปถมที่ที่หอพักนานาชาติ แล้วผู้วิจัยได้ลงแรงกั้นน้ำไว้ได้ อีกทั้งยังขุดคลองไส้ไก่ตามแนวพระราชดำรินำน้ำเข้ามาสู่แปลงทดลองข้างบ้านพัก

คาดว่าจะใช้เวลาทำวิจัยประมาณ 1 ปี

 

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

จะเป็น break thru ของ technology และ ถ้างานนี้ได้รับการ spill over ไปยังงานสาขาอื่นๆ จะมีคุณค่าอนันต์ต่อสังคม และมวลมนุษย์แบบที่ เรียกว่า "no man has gone before” จะทำให้สังคมเป็นสุขที่เรียกว่า "life is easier to live”

 

Internet NX_Server at http://ahatThailand.org/ was donated by Animal Husbandry Association of Thailand (AHAT). Intranet NX_Server at National Swine Research and Training Center was donated by twenty two anonymous poor students. OLPC was donated by an anonymous. Two heads perfect super computer was donated by department of animal science, Kasetsart university. Without those dedication this investigation is impossible. The author is deeply appriciated on their sacrifices.

 

คำสำคัญ (Tags): #education
หมายเลขบันทึก: 372014เขียนเมื่อ 4 กรกฎาคม 2010 17:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 15:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

งานวิจัยนี้เห็นกลับตาลปัตรกลับวิธีคิดแบบเดิม คือคิดผันกลับว่าลักษณะเชิงปริมาณที่เกิดขึ้นอาจมีผลมาจากปัจจัยที่เป็นตัวจำกัด (LF) จึงไม่จำเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูลดิบ ที่วัดมาในเชิงปริมาณ บวกค่าคลาดเคลื่อน ที่เรียกว่า random error แต่จะใช้ข้อมูลดิบที่จำแนกด้วยสายตาโดยตรง ทำให้ค่า random error ลดลงเป็นศูนย์ แต่อาจเกิดความผิดพลาดอย่างอื่นขึ้นแทน ตั้งชื่อว่า ความผิดพลาดจากการจำแนกผิด (disturbance distance deviation) อธิบายเป็นตัวแบบทางสถิติได้ดังนี้

แบบหุ่นเก่า

Y = Xb + Za + e (1)

แบบหุ่นใหม่

P = T + d (2)

Where Y is a vector of animal key performance indexes, X is an incident matrix specifically to fixed effects, b is vector of fixed effect parameters, Z is an incident matrix specifically to random effects, e is a vector of effects assumed to be randomly influenced on Y, P is a phenotype of an individual animal, T is transformed threshold affected to animal P with limiting factor theory, and d is disturbanced distance deviated by transformation methods and cause error to P but not necessary randomly as earlier methods assumed.

จากตัวแบบที่ (1) และ (2) ทุกสรรพสิ่งในเอกภพสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ทั้งสิ้น และครอบคลุมธรรมชาติทั้งสิ้นทั้งมวล แต่แบบหุ่นที่ (2) จะทำให้ชิวิตมีสุขมากขึ้น (life is easier to live)

ข้อมูลที่จะจัดเก็บจะคล้ายกับในงานทดลองที่ผ่านมาดังที่ แสดงไว้ใน ตารางที่ 1 โปรแกรมที่ใช้แปลงลักษณะเชิงปริมาณเป็น categorical trait แสดงไว้ในรูปที่ 1 และ โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Matvec (Wang, 1992) แสดงไว้ในรูปที่ 2

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท