กฎหมายว่าด้วยการเบิกเงินในการเดินทางไปราชการ


การเบิกเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

1. ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง    

1.1 พระราชกฤษฎีกา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7)

พ.ศ.2548

1.2  ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550

1.3  หนังสือกระทรวงการคลังด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6 /ว 42  ลว.  26 กค 50  เรื่อง  หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด เงินชดเชย และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

1.4 หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุดที่ กค 0409.6/ว .27 ลว 15 กพ. 48 เรื่อง การเบิกจ่ายค่าผ่านทางด่วนพิเศษ

1.5 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ.2524

1.6 มาตรการประหยัด พ.ศ.2550 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด่วนที่สุดที่ ศธ04002/996 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2550

 

2. เอกสาร หลักฐานประกอบ การขอเบิก        

2.1 .แบบ 8708 ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ส่วนที่ 1) หลักฐานการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ(ส่วนที่ 2) และใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

2.2 หนังสืออนุญาตให้ไปราชการ

2.3  กรณีเบิกค่าพาหนะส่วนตัวไปราชการ 

2.3.1 หนังสืออนุญาตจากผู้บังคับบัญชา ให้ใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปราชการ    

2.3.2 หนังสือคำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง หรือระยะทางตามเส้นทางของหน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรองเส้นทาง   

2.4  กรณีใช้รถราชการ 

2.4.1  หนังสือขอใช้รถราชการ

2.4.2  ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

2.4.3  ใบเสร็จค่าธรรมผ่านทางพิเศษ(ถ้ามี)

2.5 กรณีเบิกค่าเครื่องบิน

2.5.1 กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้

2.5.2 กรณีจ่ายเงินสดให้ใช้ใบเสร็จรับเงิน และกากบัตรโดยสาร

2.5.3 กรณีซื้อ E – Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง(Itinerary Receipt)

3.  หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

3.1  ลักษณะการเดินทางไปราชการ

3.1.1 ไปราชการชั่วคราว  

นอกที่ตั้งสำนักงาน  สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทน  ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทยเดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ

3.1.2 ไปราชการประจำ

ประจำต่างสำนักงาน / รักษาการในตำแหน่ง  รักษาราชการเพื่อดำรงตำแหน่งใหม่

ณ สำนักงานใหม่  ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน)ไปปฏิบัติงาน / ช่วยราชการมีกำหนดเวลา 1 ปีขึ้นไป   ไปช่วยราชการที่ไม่อาจกำหนดเวลาสิ้นสุด / ไม่ถึง 1 ปี แต่สั่งให้อยู่ช่วยราชการต่อเวลาที่ครบ  1  ปี ขึ้นไปเป็นการเดินทางไปราชการประจำ

3.1.3 กลับภูมิลำเนาเดิม

การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมของผู้เดินทางไปราชการประจำ กรณีที่ออกจากราชการหรือถูกสั่งพักราชการ

 3.2  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว

3.2.1 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง  การนับเวลาเพื่อคำนวณเบี้ยเลี้ยง  ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ กรณีพักแรม  24 ชม.  1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1  วัน  กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน  กรณีเดินทางล่วงหน้าเนื่องจากลากิจ / ลาพักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจากลากิจ / พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

3.2.2 ค่าเช่าที่พัก

3.2.3 ค่าพาหนะ

3.2.4  ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ

3.3  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำ

3.3.1 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง  (นับออกจากที่อยู่ถึงสถานที่พักแห่งใหม่)

3.3.2 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว  เบิกในลักษณะเหมาจ่าย

3.3.3 ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น

3.3.4 ค่าเช่าที่พัก

3.3.5 ค่าพาหนะ

3.4 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม

3.4.1 ค่าเช่าที่พัก

3.4.2 ค่าพาหนะ

                  3.4.3 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว

 

4. อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางในประเทศ (เหมาจ่าย)

ข้าราชการ

ประเภท ก

ประเภท ข

ซี  1  - 2

180

108

ซี 3 - 8

210

126

ซี   9  ขึ้นไป

240

144

 

ประเภท ก. ได้แก่

                (1)  ข้ามเขตจังหวัด

                (2)  จากอำเภอ อื่น ไป อ.เมือง ใน จังหวัดเดียวกัน

ประเภท ข. ได้แก่

                (1) ไปต่าง อำเภอ ในจังหวัดเดียวกัน  ยกเว้น อ.เมือง

                (2) ไปอำเภอที่ตั้งสำนักงาน

                (3)  การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร

 

5. อัตราการเบิกค่าเช่าที่พักในประเทศ

ข้าราชการ

บาท : วัน

มาตรการประหยัด สพฐ.

ซี  8 ลงมา

เหมาจ่ายไม่เกิน  1,000.-บาท/วัน

-  พักเดี่ยวคนละไม่เกิน1,000 บาท/วัน

เดินทางเป็นหมู่คณะให้พักคู่คนละไม่เกิน 600 บาทต่อวัน

ซี  9

เหมาจ่ายไม่เกิน  1,600.-บาท/วัน

เหมาจ่ายไม่เกิน  1,500 บาท/วัน

ซี 10 ขึ้นไป

จ่ายจริงไม่เกิน 2,500.-บาท/วัน

จ่ายจริงไม่เกิน 2,000.-บาท/วัน

 

          ห้ามเบิกกรณี             

พักในยานพาหนะ  

ทางราชการจัดที่พักให้

 

6. หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะ

6.1 โดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทางและให้เบิกเท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด  ข้อยกเว้น

- ไม่มียานพาหนะประจำทาง

- มีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ราชการ

- ใช้พาหนะอื่นได้ (พาหนะรับจ้าง) แต่ต้องชี้แจงเหตุผลและความจำเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะ

6.2  การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง ผู้ ดำรงตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า เบิกได้ในกรณี ดังนี้

6.2.1 ไป – กลับ ระหว่าง สถานที่อยู่ ที่พัก หรือ สถานที่ปฏิบัติราชการ กับ สถานียานพาหนะ ประจำทาง / สถานที่จัดพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทาง

* ภายในจังหวัดเดียวกันไม่กำหนดวงเงิน

                                * ถ้าข้ามเขตจังหวัดให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราที่ สพฐ.กำหนด

- การเดินทางข้ามเขตจังหวัดระหว่างกรุงเทพฯ กับจังหวัดที่มีเขตติดต่อกรุงเทพ เพื่อเดินทางไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเที่ยวละ 500 บาท

- การเดินทางข้ามเขตจังหวัดระหว่าง กรุงเทพกับจังหวัดที่มีเขตติอดต่อกรุงเทพ  เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเที่ยวละ 400 บาท

- การเดินทางข้ามเขตจังหวัดอื่น เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเที่ยวละ 300 บาท

 6.2.2  ไป – กลับ ระหว่าง สถานที่อยู่ ที่พัก กับสถานที่ ปฏิบัติราชการภายในจังหวัดเดียวกันวันละไม่เกินสองเที่ยว (ยกเว้นการสอบคัดเลือก และ สพฐ.มีมาตรการยกเว้นการเดินทางระหว่างวันที่เข้ารับการฝึกอบรม)

6.2.3  เดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร

ตำแหน่งระดับ  5 ลงมา เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ถ้าต้องมีสัมภาระในการเดินทางหรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการไปด้วย

6.3 การเบิกค่าพาหนะส่วนตัวไปราชการ

6.3.1 ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา  จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะเหมาจ่ายได้ดังนี้

(1) รถยนต์ส่วนบุคคล   กิโลเมตรละ   4  บาท

(2) รถจักรยานยนต์      กิโลเมตรละ   2  บาท

6.3.2 คำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง / หน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรอง

6.4 การเทียบตำแหน่งพนักงานราชการ

6.4.1 กลุ่มงานบริการ / เทคนิค                          เทียบระดับ          1 – 2

6.4.2 กลุ่มงานบริหารทั่วไป                                  “                           3 – 8

6.4.3 กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ      “                     3 - 8

ยกเว้น  ผู้ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด   เทียบระดับ       9    

6.5 สิทธิ์การในเบิกและการเทียบตำแหน่งลูกจ้าง

6.5.1 จ้างจากเงินงบประมาณ  ยกเว้น ชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง

6.5.2 เทียบตำแหน่ง

แรงงาน / กึ่งฝีมือ                                  เทียบระดับ           1

ฝีมือ / ฝีมือพิเศษ ระดับต้น                    “           2

ฝีมือพิเศษระดับกลาง  สูง  เฉพาะ          “                        3

ลูกจ้างคนใดเคยมีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายเท่ากับซี 3 ก่อน 1 เม.ย.35 ให้มีสิทธิเดิม

6.6 อัตราค่าพาหนะประจำทาง

 

ระดับ

รถประจำทาง

รถไฟธรรมดา รถเร็ว รถด่วนหรือด่วนพิเศษ

เครื่องบิน

หมายเหตุ

ชั้น 1

ชั้น 2

ชั้น 3

1 -  2

ป.1 VIPไม่เกิน 32 ที่นั่ง

-

-

นั่งพัดลม

-

 

3 - 4

ป.1 VIP ไม่เกิน 32 ที่นั่ง

-

นั่งแอร์ นอนพัดลม

-

-

 

5

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

-

นอนแอร์

-

มีความจำเป็นรีบด่วนเบิกชั้นประหยัด

 

6

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

นั่งนอนแอร์

นอนแอร์

-

ชั้นประหยัด

(Low Cost)

รถไฟชั้น 1ให้แนบกากตั๋วด้วย

7

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

 

นอนแอร์

นอนแอร์

-

ชั้นประหยัด

(Low Cost)

 

8

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

นอนแอร์

นอนแอร์

-

ชั้นประหยัด

 

 

9

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

นอนแอร์

นอนแอร์

-

ชั้นธุรกิจ

 

10

VIP ไม่เกิน 

24 ที่นั่ง

นอนแอร์

นอนแอร์

-

ชั้นหนึ่ง

 

               

 

 

บัญชีการเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก

แนบหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.7/ว 56 ลงวันที่ 22 มีนาคม 2548

ลำดับที่

ชื่อตำแหน่ง

เทียบเท่าตำแหน่งข้าราชการพลเรือนระดับ

1

 

2

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

4

 

 

ที่ปรึกษารัฐมนตรีซึ่งมิได้มีตำแหน่งกำหนดไว้และไม่ได้รับเงินเดือน

พนักงานรัฐวิสาหกิจซึ่งดำรงตำแหน่ง

2.1   ผู้ว่าการ  ผู้อำนวยการ และ ผู้จัดการ

2.2  รองผู้ว่าการ  และผู้ช่วยผู้ว่าการ

2.3  ผู้อำนวยการฝ่าย และผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่าย

2.4  ผู้อำนวยการกอง (หัวหน้ากอง) และผู้ช่วยผู้อำนวยการกอง

2.5  หัวหน้าแผนก และผู้ช่วยหัวหน้าแผนก

2.6 ประจำแผนก และหัวหน้าหมวด

ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่น

        ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานเมืองพัทยา และ พนักงานส่วนตำบล

 

 

ตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น

4.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด

     4.1.1 ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

     4.1.2 รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

     4.1.3 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

     4.1.4 เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และที่ปรึกษานายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

4.2 เทศบาล

     4.2.1 ประธานสภาเทศบาล  และนายกเทศมนตรี

     4.2.2 รองประธานสภาเทศบาล  รองนายกเทศมนตรี และเทศมนตรี

     4.2.3 สมาชิกสภาเทศบาล

     4.2.4 เลขานุการนายกเทศมนตรี และที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

8

 

10

9

8

7

6

3

เทียบเท่าตำแหน่งข้าราชการพลเรือนที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งในระดับที่ได้รับเงินเดือนเดียวกัน

 

 

9

 

8

 

7

7

 

 

9

8

7

7

 

ลำดับที่

ชื่อตำแหน่ง

เทียบเท่าตำแหน่งข้าราชการพลเรือนระดับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

6

7

 

 

 

8

 

 

9

 

 

 

4.3 เมืองพัทยา

      4.3.1  ประธานสภาเมืองพัทยา และนายกเมืองพัทยา

     4.3.2 รองประธานสภาเมืองพัทยา และรองนายกเมืองพัทยา

     4.3.3 สมาชิกสภาเมืองพัทยา

     4.3.4 ประธานที่ปรึกษานายกเมืองพัทยา

     4.3.5 เลขานุการประธานสภาเมืองพัทยา  เลขานุการนายกฯและที่ปรึกษานายกฯ

     4.3.6 ผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยา และผู้ช่วยเลขานุการนายกฯ

4.4 องค์การบริหารส่วนตำบล

      4.4.1 ประธานสภา ฯ และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

      4.4.2 รองประธานสภาฯ และ รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

      4.4.3 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล

      4.4.4 เลขานุการสภาองค์การฯ แล เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

กำนัน

ผู้ใหญ่บ้าน

แพทย์ประจำตำบล สารวัตรกำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง

ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ และกรรมการหมู่บ้านที่มิใช่กำนัน  ผู้ใหญ่บ้าน

หรือแพทย์ประจำตำบล

คณะสื่อมวลชน

8.1 หัวหน้าข่าว หรือบรรณาธิการคอลัมน์นิสต์

8.2 นักข่าว หรือนักประชาสัมพันธ์

บุคคลภายนอกซึ่งไม่เข้าหลักเกณฑ์ในข้อ 1 – และมีคุณวุฒิการศึกษา

9.1 ปริญญาเอก

9.2 ปริญญาโท

9.3 ปริญญาตรี

 

9

8

7

7

7

 

6

 

 

8

7

6

6

 

8

7

6

 

 

 

 

5

3

 

5

4

3

 

 

ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชต่างประเทศชั่วคราว

การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว

1. ข้าราชการประจำในไทยเดินทางไปต่างประเทศ เพื่อ ประชุม / เจราจาธุรกิจ /ดูงาน/ ตรวจสอบบัญชี / ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามความจำเป็น

2. ข้าราชการประจำต่างประเทศ ไป ณ ที่ใดๆ ในต่างประเทศ หรือมายังไทยเฉพาะเวลาที่เดินทางอยู่นอกประเทศ

3. ข้าราชการประจำต่างประเทศไปช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทนต่างส.น.ง.ในต่างประเทศเฉพาะเวลาจากที่พักเดิมถึงที่พัก ส.น.ง.แห่งใหม่

ระยะเวลาอนุมัติเดินทางก่อน(ชม.)               ทวีป – ประเทศ                                            หลัง (ชม.)

  ไม่เกิน  24   ชม.                                          ทวีปเอเชีย                                              ไม่เกิน    24  ชม.

                                                                         ออสเตรเลีย

                                                                         นิวซีแลนด์

 ไม่เกิน  48  ชม.                                  ทวีปยุโรป                                              ไม่เกิน   48  ชม.

                                                                         อเมริกาเหนือ     

ไม่เกิน  72  ชม.                                  ทวีปอเมริกาใต้                                         ไม่เกิน  72  ชม.

                                                                          แอฟริกา     

 

                ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว

1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง / ค่าอาหาร

                2. ค่าเช่าที่พัก

                                3. ค่าพาหนะ

                                4. ค่ารับรอง

                                5. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นเนื่องในการเดินทางไปราชการ

                                6. ค่าเครื่องแต่งตัว

                1.   เบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย)

ซี 8 ลงมา  ไม่เกิน  2,100 บาท / วัน

ซี 9 ขึ้นไป ไม่เกิน 3,100 บาท / วัน

  การนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยง

1.ข้าราชการประจำต่างประเทศ

                                                 * ตั้งแต่ออกจาก ที่อยู่ / ที่ทำงานปกติ  จนกลับ ถึงที่อยู่ / ที่ทำงานปกติ

                                                 * มาราชการชั่วคราวในไทย ไม่รวมช่วงเวลาที่อยู่ในไทย

 

                                2. ข้าราชการประจำในไทย

                                                * ตั้งแต่ประทับตราหนังสือเดินทางออก จนถึงประทับตราฯเข้าไทย

- พักแรมนับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน / ไม่

พักแรม(เพิ่ม) เศษ เกิน 6 ชม. = ครึ่งวัน

- กรณีเดินทางล่วงหน้าก่อนปฏิบัติราชการ เนื่องจาก ลากิจ/ลาพักผ่อน

ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ

- กรณียังไม่เดินทางกลับหลังเสร็จปฏิบัติราชการเนื่องจากลากิจ/ลา

พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

 - กรณีไม่เบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่าย มีสิทธิเบิก

                                                * ค่าอาหาร –เครื่องดื่ม  ภาษีบริการที่โรงแรม ร้านค้าเรียกเก็บ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 4,500 บาท/วัน

                                                                * ค่าทำความสะอาดเสื้อผ้า(เกิน7วัน) เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท/วัน คำนวณเบิกจ่ายแต่ละวัน เศษที่เหลือนำมาสมทบเบิกจ่ายวันต่อไปไม่ได้

                                                * ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน

2. ค่าเช่าที่พัก

หลักเกณฑ์   จำเป็นต้องพักแรม / จ่ายจริง /ซี 8 ลงมาพัก 2 คน/ห้อง

ข้อห้าม เบิก   พักในยานพาหนะ / ทางราชการจัดที่พักให้ /พักบ้านตนเอง /คู่สมรส/ญาติ

พี่น้อง

อัตราค่าเช่าโรงแรม          บาท  :  วัน

ระดับ

ประเภท ก.

ประเภท ข.

ประเภท ค.

เดี่ยว

คู่

เดี่ยว

คู่

เดี่ยว

คู่

8  ลงมา

7,500

5,250

5,000

3,500

3,100

2,170

9 ขึ้นไป

10,000

 

7,000

 

4,500

 

                                กรณีเดินทางล่วงหน้าก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการ เนื่องจากลากิจ / ลาพักผ่อน และจำต้องพักแรมในท้องที่ปฏิบัติราชการก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการ ให้เบิกค่าเช่าที่พัก ก่อนได้ไม่เกิน 1 วัน

3. ค่าพาหนะ

                                ค่าโดยสาร /  ค่าเช่ายานพาหนะ / ค่าเชื้อเพลิง / ค่าระวางบรรทุก / ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทางพาหนะประจำทาง  บริการทั่วไปประจำ / เส้นทางแน่นอน /ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน

ค่าพาหนะภายในต่างประเทศ เบิกเท่าที่จ่ายจริง  กรณีเดินทางออกนอกเส้นทางใน

ระหว่างลา เบิกได้ไม่เกินเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ

 

เครื่องบิน                                ชั้นหนึ่ง                                    ชั้นธุรกิจ                     ชั้นประหยัด 

                               หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล                       ระดับ  9                       ระดับ 8 ลงมา

                                ประธานศาลฎีกาและรอง

                               ประธานรัฐสภาและรอง

                               ประธานวุฒิสภาและรอง

                               ประธานสภาผู้แทนราษฎรและรอง/รัฐมนตรี

                                            ระดับ 10

4. ค่ารับรอง

4.1 ประธานองคมนตรี /องคมนตรี /นายกรัฐมนตรี / รองนายกฯ/รัฐมนตรี/ประธาน /

รองประธานศาลฎีกา / ประธานศาลอุทธรณ์  เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง

4.2 บุคคลนอกเหนือจากข้อ 4.1 เบิกเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตรา

เดินทางไม่เกิน 15 วัน       67,000  บาท

เดินทางเกิน  15  วัน        100,000  บาท

5. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย  เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง

6. ค่าเครื่องแต่งตัว

                                6.1 จำเป็นต้องใช้เครื่องแต่งตัวพิเศษ  หรือจำเป็นอื่น

                                6.2 ได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ

                                6.3 ไม่ใช่ประเทศที่ห้ามเบิก

                                6.4 เคยได้รับแล้วจะรับใหม่ต้องเกิน  2  ปี

 อัตราค่าเครื่องแต่งตัวเหมาจ่าย

ระดับ  5  ลงมา    คนละ      7,500   บาท

ระดับ  6  ขึ้นไป  คนละ       9,000  บาท

อัตราแลกเปลี่ยน

แลกกับธนาคาร ให้ถืออัตราวันที่แลกทั้งก่อนไป + กลับ  แนบหลักฐานการแลกเปลี่ยน

กับธนาคาร

กรณีแลกที่อื่น (ไม่มีหลักฐาน) ถืออัตราระหว่างประเทศ  1  วันทำการก่อนเดินทาง 

1 วันหลังกลับ  ใช้บัตรเครดิต  ให้ถืออัตราตามใบแจ้งยอด แนบหลักฐานใบแจ้งยอด

 

               

 

 

 

การเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม/การจัดงาน

1. ระเบียบ กฏหมายที่เกี่ยวข้อง

1.1 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม  การจัดงาน และการ

ประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549

1.2 คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 14/2550 เรื่อง มอบอำนาจ

เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และค่าใช้จ่ายในการจัดงาน สั่ง ณ 8 มกราคม พ.ศ.2550

1.3 หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม และค่าใช้จ่ายในการจัดงาน ตาม

คำสั่ง  สพฐ. ที่ 14/2550 สั่ง ณ วันที่ 8  มกราคม พ.ศ.2550

1.4 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดการ

ประชุมของทางราชการ พ.ศ.2524

                  2.. เอกสาร หลักฐานประกอบ การขอเบิก        

               2.1  โครงการ / หลักสูตรการฝึกอบรมภายในประเทศ ที่ได้รับอนุมัติแล้ว

                                2.2  หลักฐานการลงเวลาของผู้เข้ารับการอบรม

                                2.3 ใบเสร็จรับเงินค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าอาหารกลาง (ระบุจำนวนผู้เข้าอบรม, ราคาต่อมื้อต่อคนต่อวัน) 

                                2.4  บันทึกชี้แจงกรณีที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์ หรือข้าราชการและลูกจ้างที่ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบัติหน้าที่ฝึกอบรม ไม่สามารถเข้าร่วมอบรมได้ เนื่องจากมีเหตุจำเป็น เจ็บป่วย มีราชการสำคัญ เป็นต้น ทำให้จำนวนเงินค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกไม่ตรงกับ จำนวนลายมือชื่อของบุคคลเข้ารับการอบรม เพื่อให้หัวหน้าส่วนราชการใช่ดุลยพินิจพิจารณาอนุมัติให้เบิกจ่ายได้

                                2.5  หนังสือเชิญวิทยากร , ใบสำคัญรับเงินของวิทยากร

                                2.6  รายงานการเดินทาง กรณีเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก และค่าพาหนะ ให้วิทยากร

                                2.7 ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมผ่านทางด่วนพิเศษ  ได้เฉพาะกรณีขอใช้รถยนต์ของทางราชการ  ให้แนบหลักฐานการอนุญาตให้ใช้รถราชการ

                                2.8 ใบเสร็จรับเงิน หรือใบสำคัญรับเงิน กรณี ใช้จ่ายในการตกแต่งสถานที่ ค่าใช้จ่ายพิธี เปิด –ปิด  กรณีจัดซื้อวัสดุ และค่าถ่ายเอกสารให้ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกฯว่าด้วยการพัสดุและแนบหลักฐานจัดซื้อจัดจ้าง

      &nbs

หมายเลขบันทึก: 369530เขียนเมื่อ 26 มิถุนายน 2010 11:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 06:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท