Reverse Threshold Model


ทุกสรรพสิ่งในเอกภพสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ทั้งสิ้น และครอบคลุมธรรมชาติทั้งสิ้นทั้งมวล
  1. Reverse Threshold Model

 

Threshold model มีแนวความคิดว่า threshold ประกอบด้วยตัวแปรเล็กๆ จำนวนมากมารวมกันจนส่งผลให้เกิดลักษณะปรากฏที่จำแนกได้โดยการนับด้วยสายตาที่เรียกว่า “categorical trait” เช่น นิ้วเกิน/ปรกติ ขาว/ดำ เล็ก/ใหญ่ เมื่อเป็นเช่นนี้ การชั่ง ตวง วัด ที่ยุ่งยาก และต้องใช้เครื่องมือแพงก็ไม่จำเป็น เพียงแค่นับจำนวนก็นำมาวิเคราะห์ได้แล้วอย่างพึ่งพาตนเอง

งานวิจัยนี้เห็นกลับตาลปัตรกลับวิธีคิดแบบเดิม คือคิดผันกลับว่าลักษณะเชิงปริมาณที่เกิดขึ้นอาจมีผลมาจากปัจจัยที่เป็นตัวจำกัด (LF) จึงไม่จำเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูลดิบ ที่วัดมาในเชิงปริมาณ บวกค่าคลาดเคลื่อน ที่เรียกว่า random error แต่จะใช้ข้อมูลดิบที่จำแนกด้วยสายตาโดยตรง ทำให้ค่า random error ลดลงเป็นศูนย์ แต่อาจเกิดความผิดพลาดอย่างอื่นขึ้นแทน ตั้งชื่อว่า ความผิดพลาดจากการจำแนกผิด (disturbance distance deviation) อธิบายเป็นตัวแบบทางสถิติได้ดังนี้

แบบหุ่นเก่า

 

Y = Xb + Za + e (1)

 

แบบหุ่นใหม่

P = T + d (2)

 

Where Y is a vector of animal key performance indexes, X is an incident matrix specifically to fixed effects, b is vector of fixed effect parameters, Z is an incident matrix specifically to random effects, e is a vector of effects assumed to be randomly influenced on Y, P is a phenotype of an individual animal, T is transformed threshold affected to animal P with limiting factor theory, and d is disturbanced distance deviated (DDD) by transformation methods and cause error to P but not necessary randomly as earlier methods assumed.

จากตัวแบบที่ (1) และ (2) ทุกสรรพสิ่งในเอกภพสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ทั้งสิ้น และครอบคลุมธรรมชาติทั้งสิ้นทั้งมวล แต่แบบหุ่นที่ (2) จะทำให้ชิวิตมีสุขมากขึ้น (life is easier to live)

 

ข้อมูลที่จะจัดเก็บจะคล้ายกับในงานทดลองที่ผ่านมาดังที่ แสดงไว้ใน ตารางที่ 1 โปรแกรมที่ใช้แปลงลักษณะเชิงปริมาณเป็น categorical trait แสดงไว้ในรูปที่ 1 และ โปรแกรมที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Matvec (Wang, 1992) แสดงไว้ในรูปที่ 2

 

ตารางที่ 1: Number of counts (Internet difficulty data)

ISP

Easy

Moderate

Difficult

KU

139

74

5

SSS

50

1

0

 

  1.  
    1.  

    2.  

    3.  

    4. รูปที่ 1 Program to transform data written in Basic Linux

    5.  

    6.  

    7.  

    8.  

    9.  

    10. รูปที่ 2 Matvec program

    11.  

    12.  

    13.  

คำสำคัญ (Tags): #self-sufficient#sustainable#threshold
หมายเลขบันทึก: 366995เขียนเมื่อ 16 มิถุนายน 2010 20:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 พฤษภาคม 2012 21:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท