การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง


การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง

วันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปีเป็น “วันภาษาไทยแห่งชาติ”

คำที่เขียนถูก                คำที่เขียนผิด


              เค้า                             เค๊า
              ใช่มั้ย                           ใช่มั๊ย    
              ว้าย                             ว๊าย
              นะคะ                           นะค๊ะ 
              เว้า                              เว๊า

             ฆาตรกร                         ฆาตกร

             ฆาตรกรรม                      ฆาตกรรม

             ฆารวาส                         ฆราวาส

             ฉนั้น                             ฉะนั้น   
             ฉนี้                               ฉะนี้   
             ฉะบับ                            ฉบับ    
             ฉันท์ญาติ            ฉันญาติ    "ฉัน" ในที่นี้หมายถึง เสมือน, "ฉันท์" หมาย      ถึง  ความพอใจ 

             ซาละเปา                         ซาลาเปา   
             เซ็นต์ชื่อ                          เซ็นชื่อ    จากคำอังกฤษ sign, ไม่มี ต การันต์
             เซ็นติเมตร                        เซนติเมตร   
             ญวณ                              ญวน   
             ญาต                               ญาติ   
             ญาน                               ญาณ   
             ทนง                               ทะนง   
             ทนุถนอม                         ทะนุถนอม   
             ทนุบำรง                          ทะนุบำรุง    
             ทรนง                             ทระนง   
             ทลาย                             ทะลาย    สะกดถูกทั้งสองคำ, ทะลาย หมายถึง ช่อผลของมะพร้าว, ทลาย หมายถึง พัง
             ทะยอย                            ทยอย   
             ทะแยง                            ทแยง   
             ทะเลสาป                         ทะเลสาบ  
             ทูลหัว                             ทูนหัว   
             เทอด                              เทิด   
             เทพพนม                          เทพนม    เทว + นม ไม่ใช่ เทพ+ พนม
             เทเวศน์                            เทเวศร์    เทว + อิศร์
             แท๊กซี่                             แท็กซี่   
            โทรทรรศน์                        โทรทัศน์    สะกดถูกทั้งสองคำ, โทรทรรศน์ คือ กล้องส่อง      ทางไกล, โทรทัศน์ คือเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบหนึ่ง
             บันทัด                             บรรทัด   
             บันทุก                             บรรทุก   
             บันลุ                               บรรลุ   
             บันเลง                             บรรเลง   
             บังสกุล                            บังสุกุล   
             บังเอิน                             บังเอิญ   
             บุคคลากร                         บุคลากร   
             บุคคลิกภาพ                      บุคลิกภาพ    
             ประณีประณอม                    ประนีประนอม   
             ประเมิณ                            ประเมิน   
             ประสพการณ์                      ประสบการณ์    
             ประสูต, ประสูตร                 ประสูติ   

 

ข้อมูลเพิ่มเติม

http://www.fis.ru.ac.th/home/index.php?option=com_content&view=article&id=19%3Aoccaopm&Itemid=99

http://www.annisaa.com/forum/index.php?topic=492.0

หมายเลขบันทึก: 355794เขียนเมื่อ 3 พฤษภาคม 2010 14:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 13:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ความจริง น่าจะใช้คำว่า "เขา" แทน "เค้า" ที่หมายถึงบุคคลที่สาม

แต่ในความหมาย "ยกเค้า" ก็ไม่ว่ากัน

และ "ใช่ไหม" แทน "ใช่มั้ย"

ขอบคุณครับที่ช่วยรณรงค์การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท