หลักนิติธรรม


ช่วงนี้ ผมได้มีโอกาสอันดี ได้รับการอบรมผู้บริหารระดับกลางที่สถาบันพระปกเกล้า แต่ละวันก็จะมีการจดบันทึกย่อเอาไว้ ทันบ้างไม่ทันบ้าง ก็ต้องขอโทษกันไว้ก่อนนะครับ

หลักนิติธรรม

บรรยายโดย  อจ.จรัล ภัคดีธนากุล

 

  1. ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
    1. หลักนิติรัฐ  เราเข้าใจว่า ปกครองกันด้วยกฏหมาย  ดูแลกันด้วยกฏหมาย เท่านั้น     ซึ่งมันน่าจะไม่ถูกต้อง    เพราะอาจกลายเป็นเครื่องมือของคนไม่ดีได้    ดังนั้น  ควร เป็นหลักนิติรัฐ ที่ห้อมล้อม ด้วยหลัก นิติธรรม       จริงๆ สองสิ่งนี้มีเนื้อหาเดียวกัน
      1. หลักนิติธรรม  ในความหมายดั้งเดิม
        1. Rule by Law  not by man    คิดโดย นักปราชญ์ กรีก  โบราณ  เพลโต   อริสโตเติล
        2. ต่อมาผู้มีอำนาจ  ใช้กลวิธี   ออกกฏหมาย กติกา ก่อน จะกระทำการทำอะไรที่ไม่ดี   โดยถูกกติกา
      1. หลักนิติธรรมในความหมายร่วมสมัย
        1. Not only  Ruled by law  , But there must be Rules of law
        2. หลักอย่างน้อย 3 ประการ ของ Dicey ในการตรากฏหมายรัฐธรรมนูญของ  UK
          1. Supremacy of Laws not power
          2. Equality before the Law  of The Land  administered by ordinary Courts
          3. Right and Liberty of individuals be guaranteed by Constitution and enforced by the independent Courts

จากจุดนี้  ทำให้ แนวทาง ศาลเป็นอิสระ จากอำนาจใดๆ  กระจายออกไป

  1. Lord Bingham  เสนอ sub-rules
    1. ถ้าจะให้ถูกต้องตามหลักนิติธรรมข้างต้น
      1. ต้องเปิดช่องทางให้ประชาชน ที่ถูกละเมิด  ขอรับการเยียวยา วินิจฉัยโดยองค์กรที่เป็นอิสระจริงๆได้
      2. ตัวกฏหมายต้องทำให้เป็นหลักกติกา มากกว่าให้ดุลยพินิจคน   คือว่า  เดิมมักเขียนว่า ให้ผู้ทรงอำนาจ ใช้ดุลยพินิจได้       แต่ถ้าว่า จำเป็นจริงๆ ในบางเรื่อง ก็ทำได้แต่ต้องพัฒนาไปเรื่อย
      3. ใช้กับทุกคนโดยเสมอภาพ
      4. ปกป้องสิทธิมนุษยชน       คือ แม้ถูกกฏหมาย แต่ละเมิดสิทธิมนุษยชน  ถือว่า ขัดหลักนิติธรรม
      5. ระบบยุติธรรมต้อง ไม่ล่าช้า ไม่สิ้นเปลือง ไม่แพง
      6. ทั้งอำนาจและดุลยพินิจ ที่มีกฏหมายรองรับให้ทำได้    การใช้สิ่งเหล่านี้  จะใช้ตามอำเภอใจไม่ได้  ต้องชอบด้วย
        1. กฏหมาย
        2. สุจริต
        3. ไม่เลือกปฏิบัติ
        4. พอเหมาะพอควร
      1. ระบบการพิจารณาคดี  กระบวนการใช้อำนาจรัฐ  ทุกรูปแบบต้องมี  Fair trial    เป็นหนึ่งใน สิทธิมนุษยชน  Fair Trial or  Due Process (in USA)  แปลไทย เดิมว่า  หลักศุภนิติกระบวน  หลังๆแปลว่า  หลักความชอบด้วยกระบวนการตามกฏหมาย          คือหลักนิติธรรม   คุ้มครองด้าน กระบวนวิธีพิจารณาด้วย
      2. หลักนิติธรรม นิติรัฐแต่ละประเทศ  ต้องเหมาะสม สอดคล้องกับแต่ละประเทศ   แต่   ต้องไม่ขัดกับกฏหมายระหว่างประเทศ        แต่บางประเทศ ก็ ชาตินิยม ไม่ค่อยเห็นด้วย   ยกตัวอย่าง   กรณีเทียนอันเหมิน    จีนปราบปราม ตายกันเป็นล้าน       แต่ประเทศเล็กๆ จะทำอย่างนั้นไม่ได้ 
    1. ทั้งหมดนี้ เพื่อจำเขตของผู้มีอำนาจ ให้อยู่ในทำนองคลองธรรม
  1. หลักนิติธรรม  ให้ความสำคัญกับ คนมากที่สุด     ส่วนสิ่งที่ขัดแย้งกับหลักนิติธรรมมากที่สุดคือ
    1. ขั้วเหนือ    Totalitarian leader   เกือบๆ จะเผด็จการ
    2. ขั้วใต้   Mob rule 
  1. หลักนิติธรรม   Rule  of Law   หลักการที่กติกา ของกฏหมาย หรือผู้บัญญัติกฏหมาย         การบังคับใช้ก็ทำในกรอบของหลัก นิติธรรม อีกด้วย
  2. หลักนิติธรรม  มิใช้หลักยุติธรรมตามกฏหมาย  ซึ่งยึดบัญญัติแห่งกฏหมายเป็นสรณะ ใช้กฏหมายเป็นยุติ   โดยมิได้คำนึงถึงกฏกติกาของกฏหมายนั้นเลย    
  3. หลักนิติธรรม  มีเนื้อหาอย่างไร 

 มิได้มีบัญญัติ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร  มีเนื้อหาใกล้เคียงกับหลักกฏหมายธรรมชาติ   ที่สังคมยึดถือร่วมกันอยู่  เช่น หลักยุติธรรม  Principle of Natural Justice

  1. ถ้าเราเปลี่ยนชื่อ เป็นหลักนิติรัฐ Legal state  ก็ ต้องเหมือนกัน
    1. หลักนิติรัฐ ไม่ใช่เพียงแค่หลักกฏหมาย  แต่เป็นหลักของกฏหมาย หลักของกระบวนการยุติธรรม และหลักของการใช้อำนาจรัฐด้วย  
    2. หลักนิติรัฐเป็นหลักสำคัญประการหนึ่งของการเมืองการปกครองในระบบเสรีประชาธิปไตย 
    3. หลักนิติรัญเป็นหลักสำคัญ อันหนึ่งของการเมืองการปกครองในระบบเสรีประชาธิปไตย  เพื่อความสำเร็จและป้องกันความเสื่อมทรามลงของระบบประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม
    4. หลักนิติรัฐ จึงมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับหลักการปกครองข้ออื่นๆ  ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหลักการแบ่งแยกอำนาจ หลักนิติธรรม  หลักยุติธรรมธรรมชาติหรือความชอบธรรมอื่นๆ  
    5. หลักนิติรัฐ มิได้ให้ความสำคัญแก่ กฏหมายหรือนักกฏหมายอย่างเดียว  แต่ต้องการนักยุติธรรมที่ไม่สยบยอมต่อผู้ใช้อำนาจโดยปราศจากความชอบธรรม
  1. เราที่เป็นคนทำงาน   ก็มีอำนาจในตัว ระดับใด ระดับหนึ่ง     การใช้อำนาจ ก็จะมีผลกระทบกับใครบางคน  ดังนั้น ต้องใช้หลักนิติธรรม 
  2. หลักนิติ รัฐ   ขอเสนอ บทสรุปว่า
    1. การปกครองประเทศ ที่ไม่ถือบุคคลเป็นใหญ่   แต่ถือหลักเกณฑ์และกติกาสังคมเป็นสำคัญ

ผู้ปกครองประเทศไม่ใช่เจ้าของประเทศ   แต่เป็นผู้ที่ประชาชนมอบหมายไว้วางใจให้เข้ามาใช้อำนาจรัฐแทนประชาชน  และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเท่านั้น

ผู้ใช้อำนาจรัฐ มิใช่เจ้าของอำนาจรัฐ  จะใช้อำนาจตามอำเภอใจ หรือตามอารมณ์ของตนมิได้   ต้องใช้ตามกลักเกณฑ์กติกาที่สังคมวางไว้  ด้วยความสุจริต  ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลอย่างไม่เป็นธรรมและไม่รุนแรงหรือย่อหย่อนจนเกินไป

  1. แม้หลักนิติรัฐ จะถือกติกา ว่าสำคัญกว่าความรู้สึกของคน   แต่มิได้ถือบกฏหมายเป็นสรณะ

บทบัญญัติ ที่ผู้ปกครองกำหนด  โดยไม่มีความขอบธรรมรองรับ   สภาพบังคับก็จะไม่มี       กฏหมายดังกล่าวนี้ ย่อมมีสภาพเพียงกระดาษเปือนหมึก   ผู้บัญญัติย่อมเสื่อม  ผู้บังคับใช้เสื่อมไปด้วย

ถ้าไม่เชื่อ  ลองบัญญัติกฏหมายบังคับให้ประชาชนใช้มือเดินแทนเท้าดูก็ได้

  1. หลักนิติรัฐ   ปฏิเสธ ผู้ที่ใช้อำนาจเป็นธรรม  แต่เชิดชูผู้ใช้ ธรรม เป็นอำนาจ
    1. อำนาจทุกชนิด มีต้นทุน  ใช้มาก ก็ หมดมาก   การใช้อำนาจที่ดีที่สุด ควรเป็นการใช้อำนาจที่น้อยที่สุด
    2. การปกครองที่ดีที่สุด  คือการปกครองที่น้อยที่สุด
  1. หลักนิติรัฐ  จะต้องถือว่า กฏหมายเป็นเพียงเครื่องมือ  เป็น ยานพาหนะ เพื่อสร้างสันติสุขในสังคม   มิใช้เพื่อความศักสิทธิ์ของกฏหมายเอง    มิใช้เอารัดเอาเปรียบสังคม  ภายใต้ภาพลวงตาว่า เป็นกฏหมายเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมือง          

  ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมือง เป็นเป้าประสงค์  แต่มิใช่เป้าประสงค์ประการเดียวหเนือสิ่งอื่นใด  ยังมีสิ่งดีๆ อีกหลายประการ ที่สรำคัญยิ่งก่าประสิทธิภาพ เช่น  ความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร  ผลประโยชน์ของชาติ  หรือประโยชน์และความสุขของมหาชน ชาวสยาม   เป็นต้น

  1. หลักนิติรัฐ ให้มีการแบ่งแยกอำนาจ  คานอำนาจ  และตรวจสอบอำนาจอย่างสมดุล   ต้องสร้างระบบกันเอาไว้

 

 

คำถาม

การสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์

ตอบ  

ทำองค์ความรู้ ให้ชัดเจน   ถ้าไม่งั้น มันจะสุ่มเสี่ยง  แต่ถ้าไม่เดิน จะล้าหลัง    

ต้องเผยแพร่ความรู้ ให้ประชาชน รับทราบอย่างกว้างขวาง

ทำความเชื่อมั่น ว่าประชาชนสบายใจได้ว่าปลอดภัย      

แต่จะติดที่ คอรัปชั่น  การขัดผลประโยชน์

 

 

 

  1. ข้อสรุปการนำไปใช้บริหารงานภาครัฐ
    1. ประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม Public Interest
    2. มั่นคง  มั่งคั่ง  ยั่งยืน

Security  Prosperity  Sustainability

  1. เพื่อความสถิตสถาพร  ความสงบสันติสุขและความเจริญรุ่งเรือง อย่างยั่งยืน

หลักนิติธรรม

  1. ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
    1. หลักนิติรัฐ  เราเข้าใจว่า ปกครองกันด้วยกฏหมาย  ดูแลกันด้วยกฏหมาย เท่านั้น     ซึ่งมันน่าจะไม่ถูกต้อง    เพราะอาจกลายเป็นเครื่องมือของคนไม่ดีได้    ดังนั้น  ควร เป็นหลักนิติรัฐ ที่ห้อมล้อม ด้วยหลัก นิติธรรม       จริงๆ สองสิ่งนี้มีเนื้อหาเดียวกัน
      1. หลักนิติธรรม  ในความหมายดั้งเดิม
        1. Rule by Law  not by man    คิดโดย นักปราชญ์ กรีก  โบราณ  เพลโต   อริสโตเติล
        2. ต่อมาผู้มีอำนาจ  ใช้กลวิธี   ออกกฏหมาย กติกา ก่อน จะกระทำการทำอะไรที่ไม่ดี   โดยถูกกติกา
      1. หลักนิติธรรมในความหมายร่วมสมัย
        1. Not only  Ruled by law  , But there must be Rules of law
        2. หลักอย่างน้อย 3 ประการ ของ Dicey ในการตรากฏหมายรัฐธรรมนูญของ  UK
          1. Supremacy of Laws not power
          2. Equality before the Law  of The Land  administered by ordinary Courts
          3. Right and Liberty of individuals be guaranteed by Constitution and enforced by the independent Courts

จากจุดนี้  ทำให้ แนวทาง ศาลเป็นอิสระ จากอำนาจใดๆ  กระจายออกไป

  1. Lord Bingham  เสนอ sub-rules
    1. ถ้าจะให้ถูกต้องตามหลักนิติธรรมข้างต้น
      1. ต้องเปิดช่องทางให้ประชาชน ที่ถูกละเมิด  ขอรับการเยียวยา วินิจฉัยโดยองค์กรที่เป็นอิสระจริงๆได้
      2. ตัวกฏหมายต้องทำให้เป็นหลักกติกา มากกว่าให้ดุลยพินิจคน   คือว่า  เดิมมักเขียนว่า ให้ผู้ทรงอำนาจ ใช้ดุลยพินิจได้       แต่ถ้าว่า จำเป็นจริงๆ ในบางเรื่อง ก็ทำได้แต่ต้องพัฒนาไปเรื่อย
      3. ใช้กับทุกคนโดยเสมอภาพ
      4. ปกป้องสิทธิมนุษยชน       คือ แม้ถูกกฏหมาย แต่ละเมิดสิทธิมนุษยชน  ถือว่า ขัดหลักนิติธรรม
      5. ระบบยุติธรรมต้อง ไม่ล่าช้า ไม่สิ้นเปลือง ไม่แพง
      6. ทั้งอำนาจและดุลยพินิจ ที่มีกฏหมายรองรับให้ทำได้    การใช้สิ่งเหล่านี้  จะใช้ตามอำเภอใจไม่ได้  ต้องชอบด้วย
        1. กฏหมาย
        2. สุจริต
        3. ไม่เลือกปฏิบัติ
        4. พอเหมาะพอควร
      1. ระบบการพิจารณาคดี  กระบวนการใช้อำนาจรัฐ  ทุกรูปแบบต้องมี  Fair trial    เป็นหนึ่งใน สิทธิมนุษยชน  Fair Trial or  Due Process (in USA)  แปลไทย เดิมว่า  หลักศุภนิติกระบวน  หลังๆแปลว่า  หลักความชอบด้วยกระบวนการตามกฏหมาย          คือหลักนิติธรรม   คุ้มครองด้าน กระบวนวิธีพิจารณาด้วย
      2. หลักนิติธรรม นิติรัฐแต่ละประเทศ  ต้องเหมาะสม สอดคล้องกับแต่ละประเทศ   แต่   ต้องไม่ขัดกับกฏหมายระหว่างประเทศ        แต่บางประเทศ ก็ ชาตินิยม ไม่ค่อยเห็นด้วย   ยกตัวอย่าง   กรณีเทียนอันเหมิน    จีนปราบปราม ตายกันเป็นล้าน       แต่ประเทศเล็กๆ จะทำอย่างนั้นไม่ได้ 
    1. ทั้งหมดนี้ เพื่อจำเขตของผู้มีอำนาจ ให้อยู่ในทำนองคลองธรรม
  1. หลักนิติธรรม  ให้ความสำคัญกับ คนมากที่สุด     ส่วนสิ่งที่ขัดแย้งกับหลักนิติธรรมมากที่สุดคือ
    1. ขั้วเหนือ    Totalitarian leader   เกือบๆ จะเผด็จการ
    2. ขั้วใต้   Mob rule 
  1. หลักนิติธรรม   Rule  of Law   หลักการที่กติกา ของกฏหมาย หรือผู้บัญญัติกฏหมาย         การบังคับใช้ก็ทำในกรอบของหลัก นิติธรรม อีกด้วย
  2. หลักนิติธรรม  มิใช้หลักยุติธรรมตามกฏหมาย  ซึ่งยึดบัญญัติแห่งกฏหมายเป็นสรณะ ใช้กฏหมายเป็นยุติ   โดยมิได้คำนึงถึงกฏกติกาของกฏหมายนั้นเลย    
  3. หลักนิติธรรม  มีเนื้อหาอย่างไร 

 มิได้มีบัญญัติ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร  มีเนื้อหาใกล้เคียงกับหลักกฏหมายธรรมชาติ   ที่สังคมยึดถือร่วมกันอยู่  เช่น หลักยุติธรรม  Principle of Natural Justice

  1. ถ้าเราเปลี่ยนชื่อ เป็นหลักนิติรัฐ Legal state  ก็ ต้องเหมือนกัน
    1. หลักนิติรัฐ ไม่ใช่เพียงแค่หลักกฏหมาย  แต่เป็นหลักของกฏหมาย หลักของกระบวนการยุติธรรม และหลักของการใช้อำนาจรัฐด้วย  
    2. หลักนิติรัฐเป็นหลักสำคัญประการหนึ่งของการเมืองการปกครองในระบบเสรีประชาธิปไตย 
    3. หลักนิติรัญเป็นหลักสำคัญ อันหนึ่งของการเมืองการปกครองในระบบเสรีประชาธิปไตย  เพื่อความสำเร็จและป้องกันความเสื่อมทรามลงของระบบประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม
    4. หลักนิติรัฐ จึงมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับหลักการปกครองข้ออื่นๆ  ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหลักการแบ่งแยกอำนาจ หลักนิติธรรม  หลักยุติธรรมธรรมชาติหรือความชอบธรรมอื่นๆ  
    5. หลักนิติรัฐ มิได้ให้ความสำคัญแก่ กฏหมายหรือนักกฏหมายอย่างเดียว  แต่ต้องการนักยุติธรรมที่ไม่สยบยอมต่อผู้ใช้อำนาจโดยปราศจากความชอบธรรม
  1. เราที่เป็นคนทำงาน   ก็มีอำนาจในตัว ระดับใด ระดับหนึ่ง     การใช้อำนาจ ก็จะมีผลกระทบกับใครบางคน  ดังนั้น ต้องใช้หลักนิติธรรม 
  2. หลักนิติ รัฐ   ขอเสนอ บทสรุปว่า
    1. การปกครองประเทศ ที่ไม่ถือบุคคลเป็นใหญ่   แต่ถือหลักเกณฑ์และกติกาสังคมเป็นสำคัญ

ผู้ปกครองประเทศไม่ใช่เจ้าของประเทศ   แต่เป็นผู้ที่ประชาชนมอบหมายไว้วางใจให้เข้ามาใช้อำนาจรัฐแทนประชาชน  และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเท่านั้น

ผู้ใช้อำนาจรัฐ มิใช่เจ้าของอำนาจรัฐ  จะใช้อำนาจตามอำเภอใจ หรือตามอารมณ์ของตนมิได้   ต้องใช้ตามกลักเกณฑ์กติกาที่สังคมวางไว้  ด้วยความสุจริต  ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลอย่างไม่เป็นธรรมและไม่รุนแรงหรือย่อหย่อนจนเกินไป

  1. แม้หลักนิติรัฐ จะถือกติกา ว่าสำคัญกว่าความรู้สึกของคน   แต่มิได้ถือบกฏหมายเป็นสรณะ

บทบัญญัติ ที่ผู้ปกครองกำหนด  โดยไม่มีความขอบธรรมรองรับ   สภาพบังคับก็จะไม่มี       กฏหมายดังกล่าวนี้ ย่อมมีสภาพเพียงกระดาษเปือนหมึก   ผู้บัญญัติย่อมเสื่อม  ผู้บังคับใช้เสื่อมไปด้วย

ถ้าไม่เชื่อ  ลองบัญญัติกฏหมายบังคับให้ประชาชนใช้มือเดินแทนเท้าดูก็ได้

  1. หลักนิติรัฐ   ปฏิเสธ ผู้ที่ใช้อำนาจเป็นธรรม  แต่เชิดชูผู้ใช้ ธรรม เป็นอำนาจ
    1. อำนาจทุกชนิด มีต้นทุน  ใช้มาก ก็ หมดมาก   การใช้อำนาจที่ดีที่สุด ควรเป็นการใช้อำนาจที่น้อยที่สุด
    2. การปกครองที่ดีที่สุด  คือการปกครองที่น้อยที่สุด
  1. หลักนิติรัฐ  จะต้องถือว่า กฏหมายเป็นเพียงเครื่องมือ  เป็น ยานพาหนะ เพื่อสร้างสันติสุขในสังคม   มิใช้เพื่อความศักสิทธิ์ของกฏหมายเอง    มิใช้เอารัดเอาเปรียบสังคม  ภายใต้ภาพลวงตาว่า เป็นกฏหมายเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมือง          

  ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบ้านเมือง เป็นเป้าประสงค์  แต่มิใช่เป้าประสงค์ประการเดียวหเนือสิ่งอื่นใด  ยังมีสิ่งดีๆ อีกหลายประการ ที่สรำคัญยิ่งก่าประสิทธิภาพ เช่น  ความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร  ผลประโยชน์ของชาติ  หรือประโยชน์และความสุขของมหาชน ชาวสยาม   เป็นต้น

  1. หลักนิติรัฐ ให้มีการแบ่งแยกอำนาจ  คานอำนาจ  และตรวจสอบอำนาจอย่างสมดุล   ต้องสร้างระบบกันเอาไว้

 

 

คำถาม

การสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์

ตอบ  

ทำองค์ความรู้ ให้ชัดเจน   ถ้าไม่งั้น มันจะสุ่มเสี่ยง  แต่ถ้าไม่เดิน จะล้าหลัง    

ต้องเผยแพร่ความรู้ ให้ประชาชน รับทราบอย่างกว้างขวาง

ทำความเชื่อมั่น ว่าประชาชนสบายใจได้ว่าปลอดภัย      

แต่จะติดที่ คอรัปชั่น  การขัดผลประโยชน์

 

 

 

  1. ข้อสรุปการนำไปใช้บริหารงานภาครัฐ
    คำสำคัญ (Tags): #ธรรมาภิบาล
    หมายเลขบันทึก: 353588เขียนเมื่อ 23 เมษายน 2010 23:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 17:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (0)

    ไม่มีความเห็น

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท