สำนักงานเกษตรอำเภอแวงใหญ่
สำนักงานเกษตรอำเภอแวงใหญ่ สำนักงานเกษตรอำเภอแวงใหญ่

การจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง


ที่มาของข้อมูล กรมส่งเสริมการเกษตร

ชนิดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

วงจรเพลี้ยแป้ง

ลักษณะมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งทำลาย

 

     การเจริญเติมโตไม่เต็มที่  ยอดหงิกเป็นพุ่ม  ลำต้นมีข้อปล้องถึ่คดงอผิดปกติ และยอดแห้งตาย

การจัดการเพลี้ยแป้ง โดยวิธีผสมผสาน

1. วิธีเขตกรรมและวิธีกล
     - ทำความสะอาดแปลง เก็บเศษซากต้นมันออกและนำไปเผาทำลาย
     - ไถ พรวนดิน ตามแดดอย่างน้อย 2 สัปดาห์
     - คัดเลือกท่อนพันธุ์ที่สะอาดปราศจากเพลี้ยแป้ง
     - เด็ดยอดที่ถูกเพลี้ยแป้งทำลายนำไปเผาทำลาย
     - สำรวจแปลงทุกสัปดาห์ หากพบเพลี้ยแป้งให้รีบกำจัด
2. การใช้ชีววิธี
     เพลี้ยแป้งมีศัตรูธรรมชาติทั้งแมลงห้ำ และแมลงเบียนคอยควบคุมปริมาณให้อยู่ในระดับสมดุล

                   
          แมลงช้างปีกใส    แตนเบียนเพลี้ยแป้ง      ด้วงเต่าตัวห้ำ

3. การใช้สารเคมี
     - แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมี ไทอะมิโทแซม 25% WG 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร 5 - 10 นาที แล้วนำไปปลูก

     - ฉีดพ่นสารเคมี ไทอะมิโทแซม 25% WG อัตรา 2 กรัม+ไวท์ออยล์ 67% EC 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 348542เขียนเมื่อ 31 มีนาคม 2010 15:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท