โครงสร้างการให้บริการแบบเครือข่ายผ่านโทรศัพท์มือถือ


Web Service Architececture for M-Learning

     จากการสืบค้นข้อมูลด้าน M-Learning ได้พบงานวิจัยมากมายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ M-Learning ซึ่ง Sunshil K. Shamar and Fred L. Kitchens ได้ทำการวิจัยเรื่อง Web Service Architececture for M-Learning จาก http://www.ejel.org ในบทคัดย่อ ได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อมด้านการศึกษากำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เมื่อโรงเรียนหลายแห่งเสนอหลักสูตรที่ใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีสาเหตุเนืองมาจากผลทางเศรษฐกิจและเหตุผลอื่น ๆ ทังจากผู้สอนและผู้เรียน โดยกระบวนการ M-Learning จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในอาชีพครู บทบาทด้านการศึกษา เนื้อหาหลักสูตรและกิจวัตรในชั้นเรีนย อย่างไรก็ตาม M-Learning ก็ยังต้องการระบบรับรองที่มีโครงสร้างแตกต่างกันไป เนื่องจาก M-Learning ต้องอาศัยการทำงานร่วมกันในระดับมาตรฐานของระบบซอฟแวร์ งานวิจัยนี้จะเสนอวิธีการใช้งานโครงสร้างการให้บริการแบบเครือข่ายสำหรับ M-Learning

     ผู้เขียนคิดว่าในอนาคตการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านรูปแบบ M-Learning ในประเทศไทยคงเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขยายโอกาสทางการศึกษาไทยต่อไป

หมายเลขบันทึก: 34355เขียนเมื่อ 16 มิถุนายน 2006 17:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 23:29 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่าน


ความเห็น
M-Learning ในประเทศไทยจะขยายวงไปอย่างกว้างขวางถ้าอัตราการบริการถูก ๆ สำหรับ software  ที่ใช้ใช้โปรแกรมใด บอกให้รู้มั่งนะคะ
ขอบคุณท่านผอ.อนงค์ด้วยนะคะ ที่ให้ความสนใจใน M-Learning  Krutuk เองกำลังสืบค้นข้อมูลอยู่นะคะ ถ้ามีอะไรเพิ่มเติม จะพยายามนำเสนอในบล็อกเรื่อย ๆ นะคะ ถ้ามีอะไรแนะนำก็เรียนเชิญนะคะ

ขอเรียนรู้ด้วยคนนะคะ  .//..แล้ว M-learning มีมาตราฐานในการเชื่อมโยง (Scorm) เหมือนกับ E-learning หรือเปล่าคะ  ...แต่คิดว่าน่าจะมีการกำหนด scorm ของ m-learning แน่ ๆ แต่ไม่รู้ว่าเป็นอย่างไรคะ   ถ้าอย่างไรช่วยนำเสนอให้ทราบบ้างนะคะ  ขอบพระคุณคะ ....

http://gotoknow.org/blog/panarat

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท