วิจัยสาระภาษาไทย


การอ่านและเขียนสะกดคำไม่ตรงมาตราในภาษาไทย

เรื่อง      ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำไม่ตรง

             มาตราในภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปี่ 3

ผู้วิจัย        นางศิริพร  แก้วบุญเรือง

 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

     - เพื่อสร้าง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทยชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3

     - เพื่อหาประสิทธิภาพ ของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่  3                

     -เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนก่อนและหลังใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3

     -  เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ประชากร

     -   เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียนไทยทนุ บ้านสันต้นดู่  อำเภอแม่อาย  จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2551 จำนวน 18  คน

เครื่องมือที่ใช้

-          แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

-          แผนการจัดการเรียนรู้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 5 หน่วยการเรียนรู้,

-          แผนการเรียนรู้และแบบฝึกจำนวน 20 แบบฝึก,

-     แบบสอบถามความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทยชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3        

ผลการวิจัย

  .  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้ศึกษาได้สร้างและพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสามารถก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านการเรียนรู้ใน เรื่อง      การอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย จากการทดสอบตามมาตรฐาน E1/E2  เท่ากับ 82.37/81.83  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้

 

หมายเลขบันทึก: 337955เขียนเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2010 01:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 14:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

May I ask -- what is การอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทยชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3? May we have some examples? -- Why is it "important" to do this? What are the benefits of learning this?

May we compare the benefits of การอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทย to, for example, a life skill of "cooking good foods"? Knowing how to cook good healthy foods (such as salads, fruit juices, and beans and lentils meals), we can keep ourselves and our families healthy. This skill can be passed on to our children and to their children. If we all make good healthy foods, we make the people in our country good and healthy ;-).

I think we should give more recognition to developing life skills for ourselves and our school children.

Good luck with your work for your "3/9 classification".

My answer

การอ่านและเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงมาตราในภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 is Teaching about read and write skill and spelling the Thai words . Because my children come from other aria some are Shan come from Myanmar some are hill tribe children . They often use wrong pronounce so it will be wrong meaning . And การสะกดคำ is same to spelling word in English . And “Electronic book” is my create about CDR. Content my sound to read a word that they can read follow me. If you want to know more than here please call me 0821899748 )

Thank you for your comment. Excuse me if my answer not clear because I am not sure in my English.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท