อริยสัจจ์ 4


ความจริงอันประเสริฐ
อริยสัจจ์ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ

1.ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจต่าง ๆ
1.1 สภาวทุกข์ คือ ทุกข์ประจำ ได้แก่ การเกิด การแก่ การตาย
1.2 ปกิณณกทุกข์ คือ ทุกข์จร ได้แก่ ความเศร้าโศก ความคร่ำครวญ ความเจ็บป่วย ความน้อยใจ ความท้อแท้ กลุ้มใจ ความเสียใจ ความหม่นหมอง ความขัดแย้ง ตรอมใจ ฯลฯ

2.สมุทัย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ คือ ตัณหา ( ความทะยานอยากที่มีอยู่ในใจของเรา
2.1 กามตัณหา ความอยากได้ เช่น อยากได้เงินทอง อยากสนุก 2.2 ภวตัณหา ความอยากเป็น เช่น อยากเป็นนายกฯ
2.3 วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็น เช่น ไม่อยากเป็นคนจน

3.นิโรธ คือ ความดับทุกข์ สภาพใจที่หมดกิเลสแล้วโดยสิ้นเชิง

4.มรรค คือ วิธีปฏิบัติเพื่อไปสู่ความดับทุกข์
4.1สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นชอบ คือความเห็นถูกต่าง ๆ เช่นทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
4.2 สัมมาสังกัปปะ มีความคิดชอบ คิดไม่ทำให้ใครเดือดร้อน
4.3 สัมมาวาจา เจรจาชอบพูดความจริงไพเราะสร้างสรรค์ถูกกาละเทสะ
4.4 สัมมากัมมันตะ ทำงานชอบ
4.5 สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ
4.6 สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ
4.7 สัมมาสติ มีความระลึกชอบ ไม่ปล่อยให้ใจฟุ้งซ่าน
4.8 สัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่นชอบ
คำสำคัญ (Tags): #อริยะสัจจ์ 4
หมายเลขบันทึก: 335221เขียนเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2010 10:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 เมษายน 2012 02:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สาธุครับ

จะถึงที่สุดแห่งทุกข์

รื้อภพ ถอนชาติ ก็ต้องประหารกิเลสในใจจนหมดไปนะครับ

อริยสัจจ์ (ariya-sacca) is the Buddhists' way to overcome ทุกข์ (dukkha).

We should also see the principle for analysis in facts if we apply to a problem:

- What is 'the problem'?

- What are 'the causes' of this problem?

- What is a solution (what will be when we overcome the problem)?

- What is 'the course of actions' to overcome the problem?

I see that we have learned a strong basis for problem solving -- without even knowing it ;-).

ความชัดแจ้ง เป็นผลของมรรค เพื่อใช้ในการเดินทาง ที่ไม่แน้นไม่หนักด้านใดด้านหนึ่ง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท