ที-แทค
สรภัญญ์จีฬาฬ์ แก้วไวยุทธ์

ทางสายกลางที่อยากเดิน


ทางสายกลาง

อะไรคือทางสายกลาง?

อะไรที่เรียกว่าตึงเกิน และอะไรที่เีรียกว่าหย่อนเกินไป  แล้วทางสายกลางของแต่ละคนนั้นเป็นเช่นใด? 

คำสำคัญ (Tags): #ทางสายกลาง
หมายเลขบันทึก: 331292เขียนเมื่อ 26 มกราคม 2010 21:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 12:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (14)

หวัด ดี ครับ

แวะมาเยี่ยมชมครับ

ขอตอบนะครับ

อดีตไม่ถามหา

อนาคตข้างหน้าม่ใฝ่ฝัน

ปัจจุบันเท่านั้นคือของเรา

สวัสดีครับ

ทางสายกลาง

ไม่ประมาทหลงโลก

ไม่คร่ำเคร่ง เพ่งเล็งมากเิกินไป

แวะมาเยี่ยมครับ...

แวะมาเยี่ยมจ้า..

ทางสายกลาง คือ ทางที่่ไม่ลำบากแต่ก็ไม่สบาย ในวิถีของแต่ละคน แต่มักจะมุ่งไปในทางเดียวกัน..ประมาณนี้แหละค่ะ

ตอบครับ

คือทางที่สบายๆ

สบายกาย สบายใจ และมีความสุข

ร่วมแสดงความคิดเห็นนะครับ

ทางสายกลางของผมก็คือ ทางที่ทำให้มีความสุขโดยที่ไม่ต้องพึ่งอุปกรณ์เสริมมากนัก อุปกรณ์เสริมของผมในที่นี้ คือ สิ่งที่เรียกว่าภายนอกน่ะครับ งงไหม พูดไปพูดมาชักงงแฮะ ประมาณนี้แหละครับ

ทางสายกลาง...คือใจที่เป็นสุข สุขที่แท้ที่มิได้เกิดจากการเสพกามต่าง ๆ

ขอบคุณค่ะ

สำหรับข้อความดี ๆ ทุกข้อความนะคะ

ทางสายกลางของผมก็คือทางที่ไม่ทุกข์หรือสุขเกินไป เช่น การเรียนถ้าไปคร่ำเคร่งเกินไปมันก็ไม่ดี ถ้ามีความสุขเกินมันก็ไม่ดีเช่นกัน

ความรักถ้ารักเขามากมันก็ทุกข์ ถ้าเกลียดมากก็ทุกข์แต่ถ้ารักอยู่บนความจริงและเรายอมรับมัน ก็สุขครับ

พีอาร์-นิติวรพิชิต

ทางสายกลางที่เข้าใจดีก็คือการใช้ชีวิตแบบพอเพียงรู้จักพึ่งพาตนเอง พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครับ

ขอบคุณค่ะ คุณอนนท์ และคุณพีอาร์ ที่ร่วมแสดงความคิดเห็นนะคะ

ทางสายกลาง..คือ การพอประมาณ พอเพียง และพอใจ..

สั้น ๆ กินใจดีค่ะ คุณวณิช

ขอบคุณนะคะ

เห็นด้วยกับข้อความที่2ครับ โดยเฉพาะพอใจถ้าพอใจแล้วก็จะรู้จักพอประมาณ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท