แบบจำลองลุ่มน้ำ (SWAT)


เป็นเครื่องมือร่วมกันทำงานในพื้นที่ลุ่มน้ำ

 

พื้นที่ประเทศไทยสามารถแบ่งตามขอบเขตลักษณะลุ่มน้ำ (Watershed) ได้จำนวน ๒๕ ลุ่มน้ำหลัก (http://www.forest.go.th/Research/watershade/name.html)

 

แต่ละลุ่มน้ำมีธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน

 

การใช้พื้นที่ลุ่มน้ำอย่างยั่งยืนต้องการการวางแผนบนพื้นฐานของข้อมูลที่ดี การมีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 

 

เครือข่ายวิจัยและพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเอเซีย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และเครือข่ายต่างประเทศ ได้ร่วมการฝึกอบรม (http://www2.mcc.cmu.ac.th/SWAT) นำใช้โปรแกรมการประเมินทรัพยากรดินและน้ำ (Soil and Water Assessment Tool) ใช้บูรณาการข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงอรรถาธิบายอย่างเป็นระบบ เป็นเครื่องมือร่วมกันทำงานในพื้นที่ลุ่มน้ำ โดยเฉพาะลุ่มน้ำที่ต้องการการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนให้รุ่นลูกและรุ่นหลานต่อไป 

===================<><><>

อรรถชัย, เชียงใหม่

หมายเลขบันทึก: 307550เขียนเมื่อ 21 ตุลาคม 2009 20:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 มิถุนายน 2012 01:24 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

มาอ่านความรู้ใหม่ค่ะท่านอาจารย์ เพิ่งทราบว่ามีพื้นที่ลุ่มน้ำ

สนใจเรื่องพื้นที่ชุ่มน้ำ และทราบเพียงว่ามีว้นพื้นที่ชุ่มน้ำโลกค่ะ

เป็นกำลังใจให้ทีมงานวิจัยเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศน์ค่ะ

 

 

 

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท