เรื่องของหิ่งห้อย


แมลงตัวน้อยที่เรืองแสง

หิ่งหอย (Lampyridae) เปนแมลงที่เราสามารถพบเห็นไดในปาแถบเอเชียตอนใตในยุโรป และในอเมริกาเหนือและใตแตในทะเลทรายหรือบนภูเขาสูง เราจะไมพบเห็นหิ่งหอยเลย นักชีววิทยาคาดคะเนวาโลกนี้มีหิ่งหอยประมาณ 2,000 ชนิด คนจีนและคนบราซิลที่มีฐานะจน มักจะจับหิ่งหอยมาใสกรง เพื่อทํ าหนาที่ตางตะเกียง เพราะหิ่งหอยขนาดใหญ 6 ตัว สามารถเปลงแสงที่สวางพอใหเราอานหนังสือเวลาไมมีตะเกียงใชได ตามปกติหิ่งหอยตัวผูมักจะบินไปไหนมาไหนอยางโดดเดี่ยว และไมกระพริบแสง แตเวลามันตองการจะผสมพันธุ มันจะกระพริบแสงถี่เพื่อใหตัวเมียเห็น หากตัวเมียเห็นและรูสึกตองใจ มันก็จะแสดงอาการพอใจดวยการกะพริบแสงตอบ จากนั้นหิ่งหอยทั้งสองตัว ก็จะโผบินเขาหากันนักชีววิทยาไดเริ่มสนใจหิ่งหอยอยางจริงจังเมื่อประมาณ30 ปมานี้เอง โดยในป พ.ศ. 2508 ไดมีการประชุมนานาชาติเกี่ยวกับเรื่องปรากฎการณเรืองแสงในสิ่งมีชีวิต (bioluminescence)เปนครั้งแรกที่กรุงโตเกียวประเทศญี่ปุนวาระหนึ่งของการประชุมที่ไดรับความสนใจอยางกวางขวาง

คือ พฤติกรรมกะพริบแลวเขาจังหวะของหิ่งหอยพวกเราคงเคยเห็นฝูงปลาตัวเล็กๆ วายนํ้ ามาแลวทุกคน เราจะสังเกตเห็นวา บางครั้งเพียงชั่วเวลาสั้นๆ ปลาทั้งฝูงสามารถเปลี่ยนทิศของการวายนํ้ าไดอยางพรอมเพรียงกัน นักชีววิทยา เชื่อวาเหตุการณดังกลาวนี้เกิดจากการที่ปลาลูกนองถูกปลาหัวหนาเหนี่ยวนํ าใหกระทํ าตาม แตในกรณีของสัตวอื่น พฤติกรรมเหนี่ยวนํ าเชนนี้ไมประสบความสํ าเร็จ ยกตัวอยางเชน เวลาฝนตกเมื่อกบตัวหนึ่งสงเสียงรอง กบตัวอื่นๆ จะสงเสียงรองบาง แตเสียงเหลานี้ หาไดเปนเสียงประสานใดๆ ไมมีความสามารถในการทํ ากิจกรรมเขาจังหวะเปนพรสวรรคพิเศษหนึ่งที่ธรรมชาติไดมอบใหแกสัตว เชนหิ่งหอย จิ้งหรีด คน และตั๊กแตน ดังมีหลักฐานวา ในป พ.ศ.2478 H.M. Smith นักชีววิทยาชาวอเมริกันไดมาเยือนกระเทศไทย และไดรายงานวาในเย็นวันหนึ่งขณะที่เรือกํ าลังลอยลํ าอยูในคลองที่มีตนโกงกางขึ้นอยูบนฝงอยางหนาแนน เขาไดเห็นหิ่งหอยจํ านวนหมื่นบินมาเกาะที่ตนโกงกางตนหนึ่ง ในตอนแรกหิ่งหอยแตละตัวตางก็จะกะพริบแสงแบบตัวใครตัวมัน แตพอเวลาผานไปๆ จังหวะการกะพริบแสงของหิ่งหอยฝูงนั้นก็เริ่มเปนจังหวะพรอมกันหมดทุกตัว คอนเสิรตแสงหิ่งหอยที่ปดๆ เปดๆ แสงเปนจังหวะเชนนี้ ไดแสดงใหเขาดูนานเปนชั่วโมง เขารูสึกประทับใจในการแสดงแสงโชวของหิ่งหอยมาก เขาจึงไดตั้งคํ าถามวาการแสดงแสงสามัคคีของหิ่งหอยจํ านวนหมื่นนั้นเกิดไดอยางไร และฝูงหิ่งหอยกระทํ าเชนนั้นเพื่ออะไรS.H. Strongatz นักชีววิทยาแหงสถาบัน MIT ของสหรัฐอเมริกามีความคิดวา การที่หิ่งหอยสามารถแสดงแสงโชวไดดีเชนนี้เพราะหิ่งหอยเปนสัตวสังคมที่ชอบมีพฤติกรรมรวมกัน หากมันบินอยางอิสระ มันจะกะพริบแสงตามอํ าเภอใจ แตเมื่อมันบินเปนฝูง เสรีภาพในการกะพริบจะถูกลิดรอน โดยมันแตละตัวจะปรับจังหวะการกะพริบแสงจนทุกตัวกะพริบแสงดวยความถี่เดียวกันหมด Strongatz ไดเคยเห็นเหตุการณทํ านอง เดียวกันนี้ เกิดในสิ่งไมมีชีวิตเชนลูกตุมนาฬิกาสองลูกที่แขวนอยูใกลกันวา เมื่อปลอยใหลูกตุมตางคน างแกวง ในที่สุดลูกตุมทั้งสองจะปรับความถี่ในการแกวงจนกระทั่งมันทั้งสองมีความถี่ในการแกวง เทากัน คือแกวงซายก็ซาย แกวงขวาก็ขวาเหมือนกันและพรอมกันตลอดไป Strongatz จึงใชแบบจํ าลองการแกวงของลูกตุมนาฬิกาจํ านวนหมื่น อธิบายการกะพริบแสงของหิ่งหอยจํ านวนหมื่นโดยสมมติวามีสปริงยึดโยงระหวางลูกตุมนาฬิกาที่อยูใกลกันทุกลูก สปริงที่ใชโยงนี้จะเหนี่ยวนํ าใหลูกตุมทุกลูกแกวงดวยความถี่เดียวกันในที่สุดในขณะนี้แบบจํ าลองที่มีลูกตุมนาฬิกาจํ านวนมากยึดโยงดวยสปริง สามารถอธิบายการเดินเปนจังหวะของโขลงชาง การทํ างานเปนจังหวะของคลื่นสมองและแมแตจะอธิบายการกระโดดเปนจังหวะๆ ของเลียงผาก็ยังไดวิทยาการนี้ ปจจุบันกํ าลังเปนที่รูจักกันในนามวา Nonlinear Modeling ครับ
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 29706เขียนเมื่อ 24 พฤษภาคม 2006 11:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:23 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

หิ่งห้อย (Lampyridae) น่าสนใจมากคะ

http://gotoknow.org/todsaporn

สวัสดีค่ะ วันนี้หนูเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ พอดีได้เปิดมาเจอเรื่องของหิ่งห้อยก็ได้รับความรู้เรื่องของหิ่งห้อยเพิ่มเติม ขอบคุณมากค่ะ

http://gotoknow.org/blog/panyakaew

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท