มหัศจรรย์เครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย


มหัศจรรย์เครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย

สวัสดีเจ้า ! เป็นยังไงกันบ้างค่ะ กับเก็บตกกับงานปุ๋ยหมักในบันทึกที่แล้ว และ ในบันทึกนี้กลุ่มพวกเราได้ปรึกษากันแล้วค่ะ ว่าจะเอางานวิจัยเรื่องไหนดีมาเผยแพร่ให้ทุกๆคนได้อ่าน ปรากฎว่า  ตกลงกันแล้วคือเรื่อง  เครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย : Model TR1 ค่ะ

เรื่องนี้ก็น่าติดตามไม่แพ้เรื่องแรกเลยน่ะค่ะ ติดตามกันได้เลยจ้า

: )

มีชื่อผลงานว่า       

- เครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย : Model TR1

ว๊าว ! ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์และพี่ๆด้วยน่ะจ๊ะ ^^

แถมยังไม่พอได้รับรางวัลการันตีผลงานด้วยน่ะค่ะ ^^   

- ชนะเลิศอันดับ 1 ด้าน Agritronics ในการแข่งขันสร้างสรรค์นวัตกรรมด้วยระบบสมองฝังตัวและอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทยประจำปี 2551

โฉมหน้าเจ้าเครื่องเครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย : Model TR1

และนี่ก็คือรายชื่อเจ้าของผลงานน่ะคะ

  1. นายนราธิป สุจินดา

  2. นายเอกสิทธิ์  เปี้ยอุตร

  3. นายปริวรรธน์  เอี่ยมวัน

  4. นางสาวเพชรดา ธาราศิริวัฒน์

  5. นายธำมรงค์ กล่อมใจ

  6. นางสาวภาวิณี สูนย์พรหม

  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จาตุพงศ์ วาฤทธิ์

  8. อาจารย์ชลิดา มัธยบุรุษ

  9. อาจารย์วิยะดา ชัยเวช

มีการได้แหล่งทุนด้วยน่ะค่ะ ^^

- จากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ประโยชน์ที่ได้รับจากผลงาน

คณะผู้จัดทำผลงานนี้ค่ะ =)     (ทีมงาน Qual@Sense)

  ได้เครื่องวัดคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย ที่พัฒนาต่อยอดใช้จ่ายจริงกับลำไยได้สามารถประยุกต์ใช้กับผลผลิตเกษตรอย่างอื่น เช่น ข้าวเปลือก ข้าวโพด เป็นต้นเมื่อต้นแบบพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ เกษตรกรและผู้ประกอบการสามารถหาซื้อได้ในราคาถูกในอนาคตลดการสูญเสียรายได้ เพิ่มคุณภาพลำไยอบแห้งสำหรับการส่งออก และเพิ่มคุณภาพของสินค้าเกษตรอื่นๆ

: ) 

>>>>>>>>ส่วนบันทึกต่อไป ก็จะได้พบกับรายละเอียดเกี่ยวกับเจ้าเครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยแบบไร้สายกันน่ะจ๊ะ แล้วเจอกันจ้า : )

 

อ้างอิง : 

      จาตุพงศ์ วาฤทธิ์ และ นราธิป สุจินดา.“เครื่องตรวจสอบคุณภาพลำไยอบแห้งแบบไร้สาย : Model TR1.”งานวิจัยเด่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปี 2551

 

 

จากสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 294997เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2009 09:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

เพือน ๆ เก่งกันทุกคนเลย..ช่วยมาตรวจสอบคุณภาพทุเรียนทีระยองบ้างนะคับ..ของเป็นกำลังใจให้ในการทำงานที่สร้างสรรค์อย่างนี้ไปเรื่อย ๆ ประเทศไทยต้องการคนที่มีคุณภาพ..คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น?????สู้สู้ๆ ๆ

ได้ความรู้มากๆเลย และขอเป็นกำลังใจให้...นะจ๊ะ

เข้ามาหาความรู้ตามคำนิมนต์ขอรับ..

ว้าวๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆเครื่องมือนี้ดีจริงๆเลยนะค่ะ

สามารถช่วยเกษตรกรไทยที่ทำสวนลำไยได้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท