มนุษยสัมพันธ์


ความหมาย

ขอบเขตของมนุษย์สัมพันธ์

-ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์

-ศึกษาเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร ความเข้าใจระหว่างบุคคลระหว่างกลุ่ม

-ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน

 

       ความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์

1.มนุษย์สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับตัวบุคคลมากกว่าเคริ่องจักรกล

2 มนุษยสัมพันธ์มีสาวนช่วยจูงใจบุคคลเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น

3 มนุษยสัมพันธ์เป็นพื้นฐานของการทำงานร่วมกันเป็นทีม  

     ปรัชญาของมนุษย์สัมพันธ์

- มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าความเป็นคนเท่าเทียมกัน

- มนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด

- การไม่เบียดเบียนกันและกันของมนุษย์

     หลักการสร้างมนุษย์สัมพันธ์เป็นการให้สิ่งที่เขาต้องการก่อน แล้วเราจะได้ในสิ่งที่เราต้องการ หรือเอาการเอาใจเขามาใส่ใรเรา

     จุดเริ่มต้นของการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี คือการรู้จักตนเอง เช่น การเปิดฉากทักทายผู้อื่นก่อน การไหว้ผู้อื่นก่อน

      กระบวนการของมนุษย์สัมพันธ์ เป็นการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลเพื่อให้ได้มาซึ่งความรักใคร่ ความนับถือ ซึ่งจะต้องเป็นการกระทำต่อเนื่อง

ประโยชน์ของมนุษย์สัมพันธ์

1.ทำให้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์มากขึ้น

2.ทำให้เราตระหนัก รับรู้ และเข้าใจตนเองมากยิ่งขึ้น

3.ทำให้เราเข้าใจคนอื่นมากยิ่งขึ้น

4.ทำให้เราสามารถปรับตัวให้เหมาะสมกับบุคคลอื่น

องค์ประกอบของมนุษย์สัมพันธ์

- การเข้าใจตนเอง  เป็นการรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ว่าตนเป็นใคร มีความรู้ ความสามารถเพียงใด

- การเข้าใจคนอื่น  เป็นการเรียนรู้ธรรมชาติของคน ความแตกต่างระหว่างบุคคล

- การเข้าใจสิ่งแวดล้อม  เป็นการเรียนรู้ธรรมชาติและสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราและบุคคลอื่น มีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต

ประเภทหรือรูปแบบของความสัมพันธ์ของบุคคลในกลุ่ม

- การสมานลักษณ์ (Accommodation)                       - การกลืนกลาย         (Assimilation)

- การร่วมมือ        (Coopcration)                              - การเห็นพ้องต้องกัน (Conscnsus)

- การแข่งขัน        (Compclition)                              - ความขัดแย้ง          (Compclition)

       มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อการทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม การสร้างมนุษย์สัมพันธ์มีส่วนช่วยให้บุคคลเรียนรู้ที่จะยอบรับความคิดเห็น และบุคลิกภาพของผู้อื่นสามารถปรับตัวและทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนร่วมงาน ชุมชนและสังคมได้อย่างสันติสุข

คำสำคัญ (Tags): #พฤติกรรมมนุษย์
หมายเลขบันทึก: 294259เขียนเมื่อ 4 กันยายน 2009 12:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 พฤษภาคม 2012 19:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท