จัดทำตาราง AAR เริ่มใช้กับการประชุมย่อย


แนวทางลดความแตกต่างของงาน เกิดการต่อยอดความรู้ เป็นวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด

            AAR หรือ After Action Review หรือที่เรียก ขั้นตอนการทบทวนการปฏิบัติงาน หลักการไม่ยุ่งยาก แค่ 4 ข้อ ปรับใช้ได้กับงานทุกประเภท แต่จากโครงสร้างองค์กร น่าจะนำมาประชุมกับการประชุมย่อยๆ ก่อน เพื่อให้งานต่อการใช้งาน และการนำเสนอที่ประชุม ผมจึงได้ออกแบบตาราง AAR ออกเป็น 5 ส่วน ประกอบด้วย

1. รายละเอียดงาน

2. เป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับจากงาน

3. ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

4. ความห่าง หรือผลแตกต่างระหว่างเป้าหมายกับผลลัพธ์ เกิดจากอะไร

5. ผู้เข้าร่วมประชุม นำประสพการณ์ความรู้มาแลกเปลี่ยนกัน หาแนวทางลดความแตกต่างของงาน เกิดการต่อยอดความรู้ เป็นวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด

           อนึ่ง ตาราง AAR สามารถนำกลับมาใช้กับการประชุมครั้งถัดไป เพื่อหาวิธีการทบทวนปรับปรุง ให้ผลลัพธ์ของงานใกล้เคียงเป้าหมายมากที่สุด

หมายเลขบันทึก: 283634เขียนเมื่อ 6 สิงหาคม 2009 00:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 พฤษภาคม 2012 16:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท