Team meeting: การพัฒนาการจัดการความปวดในเด็กบริบทอีสาน


Research pediatric pain management in Urban and Rural Thailand

วันที่ 24 กค. 52 14:00-15:00 น. ทีมวิจัยการจัดการความปวดในเด็ก โดย ศ. สมบูรณ์เทียนทอง PI (Thai) ปรึกษาการเตรียมและวางแผนงานเดือนสิงหาคม 24-28 สค. 52 เนื่องจากทีมวิจัยจากแคนาดา Prof G Allen Finley, PI (Canada) และทีมจะมาประชุมร่วมกัน ติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัย Study 1, 2, 4, และ 5

ดังภาพ

 

Dsc00519

อาจารย์สมบูรณื ให้อาจารย์ ดร.พูลสุข (Study 1, 4) และ อาจารย์วิมลรัตน์ (Syudy 2)  ความก้าวหน้าของงานวิจัย และวางแผนประชุมกับทางแคนาดาในเดือนสิงหา 24-28 กค. 52

Dsc00520

รศ. พญ. วิมลรัตน์ ศรีราช

Dsc00523

 

ซ้ายสุด พี่นิด ผู้ตรวจการแผนกการพยาบาลกุมารเวชกรรม และอยู่ในทีมวิจัย เราพูดคุยเรื่อง Website study 5 ว่า NFs มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คืบหน้าอย่างไร รวมทั้งการบันทึก  Diary ของ Nurse facilitator ตอนนี้ มี guideline 2 แห่ง รพ. กาฬสินธุ์ และ รพ. มหาสารคาม รวมทั้งความคืบหน้าของการพัฒนา pain ของศรีนครินทร์

Dsc00515

ผศ. ดร. พูลสุข ศิริพูล รายงานความก้าวหน้าของ study 1,4

 

Kesanee, Co-investigator..update, July 25 2009, 11:49 pm

คำสำคัญ (Tags): #pain research thai-canada
หมายเลขบันทึก: 280196เขียนเมื่อ 25 กรกฎาคม 2009 23:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:09 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีค่ะพี่เกศ...

ดีจังเลยค่ะ ได้ทราบเรื่องราวการทำวิจัย...และที่ดียิ่งเลยคือ ไม่เคยเห็นท่าน อ.หมอสมบูรณ์...ใส่ชุดอย่างนี้เลยค่ะ...

กะปุ๋มน่ะวันนี้นึกถึงพี่เกศด้วยค่ะ...อยากชวนพี่เกศไปล้อมวงคุยกันค่ะ อยากทราบน่ะค่ะว่าจากประสบการณ์ทั้งการทำงานและการทำวิจัยมีเกศมองเรื่องนี้อย่างไรบ้างคะ

http://gotoknow.org/blog/kapoomr2r/280031

ขอบคุณค่ะ

 

 

  • P
  • ขอบคุณค่ะน้องกะปุ๋ม
  • อาจารย์อยู่ในงานจะใส่แบบนี้และค่ะ
  • ยินดีร่วมแจมนะคะ
  • ดีใจด้วยกับรางวัล Blogger of the month นะคะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท