การสนทนากลุ่ม (Focus group) ตอน 3 จบ


ข้อจำกัดในการสนทนากลุ่ม

1.             ถ้าในการสนทนากลุ่ม มีผู้ร่วมสนทนาเพียงไม่กี่คนที่แสดงความคิดเห็นอยู่ตลอดเวลาจะทำให้ข้อมูล ที่ได้เป็นเพียงความคิดเห็นของคนส่วนน้อยเหล่านั้น ดังนั้นจึงต้องระวังไม่ให้มีการผูกขาดการสนทนาขึ้น

2.             พฤติกรรมบางอย่างซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ยอมรับในชุมชนอาจไม่ได้รับการเปิดเผยในกลุ่มสนทนา ในกรณีนี้ใช้การสัมภาษณ์ตัวต่อตัวจะดีกว่า

3.             ถ้าผู้ดำเนินในการสนทนาคุมเกมไม่ได้ การสนทนากลุ่มจะไม่ราบรื่น

                                            

 

 

บรรณานุกรม

กรมการพัฒนาชุมชน. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion).

ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2551, จาก cddweb.cdd.go.th/cdregion04/cdworker/008.pdf

กรมควบคุมโรค. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion).

ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2551, จาก dpc5.ddc.moph.go.th/Data/data14.06.pdf

เกษมสิงห์ เฟื่องฟู. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion).

ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2551, จาก http://www.nb2.go.th/kmcdata/uploadq/120.ppt

วานิช มาลัยและอรสา ปานขาว.  (2548).  วิธีการศึกษาทางนิเทศศาสตร์.  กรุงเทพฯ :

                จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. [ม.ป.ป.]. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion).

ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2551, จาก http://www.vijai.org/Tool_vijai/12/02.asp

Sumon.  (2550).  Focus Group Discussion.  ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2551,

จาก http://sumon-graduate.blogspot.com/2007/07/focus-group-discussion.html

 

คำสำคัญ (Tags): #สนทนากลุ่ม
หมายเลขบันทึก: 276719เขียนเมื่อ 15 กรกฎาคม 2009 13:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 05:59 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

Focus group  ผมเคยนำไปใช้ในการประเมินค่ายคุณธรรม

     ดีมากครับ  

ดีกว่าประเมินด้วยเอกสาร   หรือ ให้กรอกข้อมูล

ธรรมฐิตก็เคยนำไปใช้ขอรับคุรครู..

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท