๕๖. สัมมนา สคช.(๕) เรื่อง : อัยการจังหวัด สคช กับ งาน สคช.


การสัมมนาโครงการตรวจติดตามประเมินผล สคช.ปี ๒๕๕๒

การสัมมนากลุ่มย่อยที่ ๒ เรื่อง : อัยการจังหวัด สคช. กับ การปฏิบัติงาน สคช. ผู้เข้าสัมนนากลุ่มย่อย ประกอบด้วย อัยการจังหวัด สคช. ของสำนังาน สคช.จังหวัด และ สคช.จังหวัดสาขา จำนวน ๑๓  ท่าน

กลุ่มย่อยที่ ๓ สมาชิกของกลุ่มได้เลือก นายศิริชัย จันทรังษ์ อัยการจังหวัด สคช.ชัยภูมิ เป็นประธานกลุ่ม และได้รายงานผลการสัมมนา ให้ที่ประชุมสัมมนาโครงการตรวจติดตามประเมินผลและนิเทศงาน สคช.จังหวัด และ สคช.จังหวัด สาขา ปี ๒๕๕๒ ได้รับทราบ โดยสรุป ดังนี้

การนำแผนปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายได้อย่างไร

      1. กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนว่าเป็นกลุ่มใด เช่น เจ้าหน้าที่รัฐ  อบต.,อบจ.เทศบาล , ผู้นำชุมชน, ผู้นำเยาวชน,นักเรียน,นักศึกษา,ประชาชนทั่วไป
    2.สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายว่าต้องการอยากรู้กฎหมายเรื่องใด  เช่น กฎหมายอาญา  กฎหมายแพ่ง ความรุนแรงในครอบครัว  หนี้นอกระบบโดยสร้างพันธมิตร        

    3. เขียนแผนปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
    4. จัดหาบุคลากรที่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายหรือความรู้ต่าง ๆ ไปให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดความรู้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนอกเหนือจากพนักงานอัยการ

     5. พัฒนากลยุทธ์เทคนิคและสร้างนวัตกรรมใหม่ในการให้ความรู้ทางกฎหมายในการฝึกอบรมและเผยแพร่ในรูปแบบใหม่  เช่น  ทำPowerpoint  แจกเอกสารหนังสือแผ่นพับให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีส่วนร่วมในการอบรม  ในการถาม ตอบ , แสดงความคิดเห็น
     6. ระยะเวลาต้องสอดคล้องกับมิติกับกลุ่มเป้าหมายที่จัดอบรม  เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชนในสถานศึกษาอย่าจัดฝึกอบรมในช่วงเวลาใกล้สอบไล่กลางเทอมหรือปลายเทอมโดยเฉพาะเยาวชนในช่วงชั้นปีที่ 4  (ชั้น ม. 4 - . 6) ถ้าเป็นชาวบ้านไม่ควรจัดอบรมในช่วงฤดูทำนาและเก็บเกี่ยวผลผลิต
         8. ปลูกจิตสำนึกแก่บุคลากรของหน่วยงานสคช.ในการทำงานด้านการให้บริการให้เป็นไปตามพันธกิจที่ 3 ของสำนักงานอัยการสูงสุดและนโยบายเชิงรุกของสอข. 3 
- แล้วเป้าประสงค์สุดท้ายอันเป็นผลสัมฤทธิ์ของงานคุ้มครองสิทธิ์ประชาชนตามนโยบายดังกล่าวก็จะได้รับความเชื่อถือและเชื่อมั่นสร้างภาพลักษณ์ที่ดีเป็นที่ประจักษ์สู่สายตาทั้งมิติภาครัฐ  มิติภาคเอกชนและมิติภาคประชาชนอย่างยั่งยืน
       2.2 เห็นควรดำเนินการโครงการสัมมนาฯต่อไปในรูปแบบโครงการสัมมนารวมทุกเขต ในที่แห่งเดียวกันเพื่อที่จะได้รับทราบถึงความสำเร็จ  ปัญหาและอุปสรรคร่วมกันเพื่อที่จะนำมาซึ่งรูปแบบเดียวกัน  สอดคล้องตรงกัน
    7. มีแบบสอบถามและประเมินผลความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มและประเมินเป้าประสงค์จากผู้เข้ารับการอบรมตามที่เข้ารับการอบรมหรือไม่และความพึงพอใจในเรื่องต่าง เช่น  วิทยากร , อาหาร , สถานที่และระยะเวลา,ความรู้ที่ได้
  
 
 
 
   กลุ่มที่  ๒ เรื่อง :  อจ.สคช. กับ งาน สคช.
 

หมายเลขบันทึก: 273675เขียนเมื่อ 5 กรกฎาคม 2009 10:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:00 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดีค่ะคุณลุง

น้องนัทมาอยู่ที่บ้านคุณครูคิม ได้มีโอกาสได้อ่านบันทึกและเขียนบันทึกคะ คุณลุงสบายดีไหมคะ

  • สวัสดีจ๊ะหนู
  • ดีแล้ว ควรจะอ่านบันทึกไว้มาก ๆ เพราะใน GOTOKNOW. จะมีทุกอย่างที่เราอยากรู้
  • ดีใจและชื่นชมกับคุณครูของหนู ที่มีความคิดก้าวไกลและทันสมัยเสมอ
  • ฝากความคิดถึงครูคิมด้วย หวังว่าสบายดีกันทุกคน

สวัสดีค่ะ

หนูมาบอกคุณลุงใหม่ค่ะ  ขอให้คุณลุงไปอ่านเรื่องของหนูค่ะ หนูใกล้จะได้พบพ่อแล้วค่ะ

http://gotoknow.org/blog/wittayasamphan/273593

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท