CBNA ฉบับที่ 2 : ทบทวนสถานกาณ์การย้ายถิ่นและความก้าวหน้าของนโยบาย และการจัดการประชากรข้ามชาติ ตั้งแต่ปี 2547


รัฐบาลไทยไม่มีนโยบายเกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติระดับล่าง สิ่งที่รัฐบาลไทยทำมาโดยตลอด คือ การใช้นโยบายการจัดการกับคนเข้าเมืองผิดกฎหมายเป็นเครื่องมือหลัก คือ การใช้ พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 โดยไปผ่อนผันตามมาตรา 17 ที่ทำให้คนเข้าเมืองผิดกฎหมายสามารถทำงานได้ชั่วคราวตามเงื่อนไขที่รัฐกำหนด โดยการออกเป็นมติคณะรัฐมนตรีประกาศการผ่อนผันเป็นครั้ง ๆ ไป ซึ่งไม่ใช่ระบบการจัดการแรงงานข้ามชาติอย่างแน่นอน

ศูนย์ข่าวข้ามพรมแดน

ฉบับที่ 2

ทบทวนสถานกาณ์การย้ายถิ่นและความก้าวหน้าของนโยบาย

และการจัดการประชากรข้ามชาติ ตั้งแต่ปี 2547

7 กุมภาพันธ์ 2552

 

เมื่อวันที่ 5-7 กุมภาพันธ์ 2552 ที่นนท์นทีรีสอร์ต จังหวัดนนทบุรี เครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรระหว่างประเทศที่ทำงานด้านแรงงานข้ามชาติ (Migrant Working Group: MWG) ได้จัดสัมมนาเรื่อง เหลียวหลัง แลหน้า แสวงหาทางร่วมกัน เพื่อการพัฒนาการทำงานเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนด้านประชากรข้ามชาติ โดยในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2552 มีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนในหัวข้อ สถานการณ์การย้ายถิ่นและความก้าวหน้าของนโยบายและการจัดการประชากรข้ามชาติโดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล จากสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

 

ประเด็นบรรยาย :

1.       คนข้ามชาติ-คนต่างด้าว หมายถึงใครบ้าง

2.       นโยบายที่จัดระบบแรงงานข้ามชาติ เป็นอย่างไร

3.       รู้จักกฎหมายฉบับใหม่ : พรบ.การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 

4.       มีหน่วยงานรัฐใดบ้างที่ทำงานเรื่องนี้

5.       สถานะของประเทศไทยที่เป็น HUP ของการย้ายถิ่นในลุ่มน้ำโขง และ HUB ของการค้ามนุษย์

6.       ประเด็นอื่นๆ

 

อ่านทั้งหมด click : ดาวน์โหลด

 

หมายเลขบันทึก: 267210เขียนเมื่อ 10 มิถุนายน 2009 19:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 07:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท