อารยะขัดขืน หลักอหิงสา


เราขัดขืนต่อความแต่เราไม่ขัดขืนต่อคน

                มหาตมะคานธี  มหาบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดีย  ผู้นำอินเดียสู่เอกราชจากอังกฤษ

                เขาตายโดยการถูกปลงพระชน  ตอนที่ท่านถูกยิงก่อนจะสิ้นลม  ท่านควรที่จะถามว่าเขาฆ่าท่านทำไม  ใครให้ทำ  รู้สึกโกรธ  แต่มหาตมะผู้นี้กลับนิ่งเฉย  ไม่แสดงความโกรธความแค้น

 

                หลักอารยะขัดขืนคืออะไร  คือ การขัดขืนต่อความแต่ไม่ขัดขืนต่อคน   เราไม่ทำตามในสิ่งที่เรารู้ว่ามันไม่ใช่  และเราจะไม่ขัดขืนหากเราถูกกระทำและเราจะไม่ตอบโต้  เพราะผู้กระทำก็ต้องการที่จะถูกปลดปล่อย  เราจึงไม่เกลียดคนทำบาปแต่เราเกลียดบาป  หลักนี้ทำให้ท่านหารอังกฤษยอมแพ้  คิดดูว่า  ท่านใช้ปืนยิ่งกลุ่มคนสองสามร้อยล้านคน  โดยที่เขาไม่ได้ตอบโต้อะไรเลยทั้งๆ  ที่เขาสามารถที่จะใช้คนจำนวนมากๆ  เหล่านั้นวิ่งไล่จับทหารที่มีไม่กี่คนนั้นได้  แต่เขากับยืนให้ยิ่งเฉยๆ  เดินเข้ามาบอกว่าเราจะสู่โดยที่ทหารเหล่านั้นใช้ไม้  ใช้ปืนตีตามร่างกาย  เมื่อคนเห็นพฤติกรรมดังกล่าวคุณยังจะกล้าที่จะทำร้ายเขาอีกหรือ  นี่คือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ทหารอังกฤษไม่กล้าที่จะทำร้ายมนุษย์ที่ไม่ต่อสู่และยอมให้เอกราชต่อมา  ทั้งหมดก็คือหลัง  อหิงสาหรืออารยะขัดขืน

หมายเลขบันทึก: 264139เขียนเมื่อ 29 พฤษภาคม 2009 08:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 มิถุนายน 2012 19:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท