SWIT
สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่อการเฝ้าระวังสภาวะไร้รัฐ .

(Update) CCL, คลินิกกฎหมายอันดามัน และสำนักข่าว ของ SWIT


CCL เป็นงาน Legal Aid ที่พวกเราพูดถึงกันมานานหลายปี เคย(เริ่ม)ลงมือ เพื่อจะให้มันเป็นรูปร่าง แต่ ไม่สามารถ..เมื่อเราปรับตัวเป็น SWIT เราจึงอยากปัดฝุ่น CCL-ห้องเรียน-Classroom, คลินิคกฎหมาย -Clinic และสำนักงานกฎหมาย Legal Center ขึ้นมาอีกครั้ง, ส่วนสำนักข่าว นั้น แม้เราจะไม่เบื่อ ไม่เหนื่อยกับการเบียดแทรกประเด็นของเราเข้าไปในสื่อกระแสหลัก แต่เราก็เริ่มจริงจังกับการมีช่องทางของเราเอง เพื่อสื่อสารประเด็นคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติกับสังคมไทย

CCL
คลินิคกฎหมายอันดามัน
สำนักข่าว

สถานการณ์

อันเป็นเป้าหมาย

(Purpose)

 

สถานการณ์อันเป็นวิธีการวิจัยและพัฒนา

(Input)

 

สถานการณ์อันเป็นผลลัพธ์ที่คาดหมาย

(Output)

ผู้รับผิดชอบ

และเครือข่ายฯ

1.  งานวิจัยและพัฒนา : 10 สถานการณ์เด่น

     2. CCL และคลินิกกฎหมายอันดามัน

·  การที่คนไร้รัฐไร้สัญชาติ ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิตามกฎหมาย หรือการถูกปฏิเสธสิทธิ อาจเกิดจากความไม่รู้ของเจ้าของปัญหา, ความไม่รู้หรือทัศนคติที่ไม่ถูกต้องของเจ้าหน้าที่รัฐ

 

·  หรืออาจเกิดจากกฎหมาย นโยบายที่ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

 

·  พื้นที่นำร่องของการดำเนินการ CCL คือ พื้นที่ภาคกลาง (กรุงเทพฯ) และอันดามัน

1. 1) เฝ้าระวังปัญหาการละเมิดสิทธิ ผ่านเจ้าของปัญหา และองค์กรเครือข่าย โดยเลือกปัญหาหรือสถานการณ์ที่เป็นตัวแทนของประเด็น ผ่านเจ้าของปัญหา และองค์กรเครือข่าย

 

2)  พัฒนากลไกการสอบข้อเท็จจริง (fact finding) เมื่อมีการละเมิดสิทธิเกิดขึ้น

 

Ø เกิดกลไกการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิ ที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาของเจ้าของปัญหาหรือองค์กรเครือข่าย

 

Ø เกิดการตรวจสอบข้อเท็จจริง และสถานการณ์ปัญหาในแต่ละกรณี

 

ผู้รับผิดชอบกิจกรรม (Doer)

1) ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล

 

 

ที่ปรึกษากิจกรรม(Adviser)
2) รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

 

 

ผู้ร่วมกิจกรรม

(Co – doer)

3) อาจารย์กิติวรญา รัตนมณี (อยู่ระหว่างการทาบทาม)

 

4) อาจารย์อัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์ (อยู่ระหว่างการทาบทาม)

 

5) บงกช นภาอัมพร (อยู่ระหว่างการทาบทาม)

 

6) โครงการนำร่องอันดามัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อยู่ระหว่างการทาบทาม)

 

3)  การ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจถึงสิทธิตามกฎหมายของคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ กระบวนการหรือกลไกการใช้สิทธิให้แก่เจ้าของปัญหา โดยผ่านกระบวนการของห้องเรียนสิทธิ” (Classroom)

Ø เจ้าของปัญหาเกิดความรู้ ความเข้าใจต่อสถานะบุคคลและสิทธิของตน รวมถึงเข้าใจถึงกลไกการเข้าถึงสิทธิดังกล่าว

 

Ø เจ้าของปัญหา เริ่มต้นที่จะมีความมั่นใจในการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง

 

4)  การจัดประชุม (Case meeting) เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่เจ้าของปัญหา รวมถึงการดำเนินการเพื่อทำความเข้าใจข้อกฎหมายกับเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยว ข้อง (Clinic) เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

-  กำหนดให้มีณะทำงานซึ่งประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละประเด็นปัญหา

 

Ø  เกิดกลไกในการกำหนดแนวทางการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่เจ้าของปัญหาในแต่ละกรณี/ประเด็น

 

5)  ใน กรณีที่ประเด็นปัญหาสืบเนื่องจากกฎหมายนโยบายที่มีอยู่ไม่สามารถครอบคลุมถึง หรือไม่เป็นไปตามหลักการเคารพต่อสิทธิมนุษยชน จำเป็นจะต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเสนอแนะการปรับปรุง/แก้ไขกฎหมายและ นโยบายดังกล่าว

 

Ø เกิดกลไกในการผลักดันให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุงกฎหมายและนโยบาย

 

 

 

 

 

3.  สำนักข่าว

·     ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ มักจะไม่ถูกสื่อสาร ในพื้นที่ของสื่อกระแสหลัก

 

·     สื่อจำนวนไม่น้อย ไม่เข้าใจถึง ประเด็นข้อกฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องกับคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

1)  รวบ รวมข้อมูลข่าวสาร กฎหมาย นโยบาย สิทธิตามกฎหมายของคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ฯลฯ รวมถึงพัฒนาข้อมูลข่าวสาร สำหรับกลุ่มคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

 

Ø  เกิดการสื่อสารถึงสิทธิตามกฎหมายของคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

 

Ø  เกิดการสื่อสารถึงข้อมูลข่าวสาร กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องกับคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

 

ผู้รับผิดชอบกิจกรรม (Doer)

1) ปิ่นแก้ว อุ่นแก้ว

 

ที่ปรึกษากิจกรรม(Adviser)
2) รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

 

ผู้ร่วมกิจกรรม

(Co – doer)

(อยู่ระหว่างการทาบทาม)

 

2)  พัฒนา ช่องทางการสื่อสาร อาทิ จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (Stateless Post), ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์, ศูนย์ข้อมูลคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ, สื่อสิ่งพิมพ์ ฯลฯ

 

Ø  เกิดการสื่อสารสถานการณ์ปัญหา องค์ความรู้ ข้อเสนอแนะเพื่อการคุ้มครองสิทธิของคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ

 

 

หมายเลขบันทึก: 255280เขียนเมื่อ 12 เมษายน 2009 23:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 พฤษภาคม 2012 10:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ทำแถบไว้ใน Input

-จะรับเคสเฉพาะประเด็นยุทธฯและกม.ใหม่เท่านั้นเหรอ ยังไม่แน่ใจค่ะ

-และควรเพิ่มเติมมั้ยว่าการดำเนินการให้ความช่วยเหลือดำเนินการโดยเครือข่ายที่ดูแลผู้ร้อง โดยเราสนับสนุน

แก้ว

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท