home work


Education work

กระบวนการวิจัย

ชื่อเรื่อง  การบริหารงานในองค์กร  แผนกประกอบตัวถัง  (Body shop management system)                       

การตระหนักถึงปัญหา (Trouble case)

                1.  แหล่งทีมาของปัญหา

1.2     ทฤษฏี        

1.3     ประสบการส่วนตัว ที่สนใจ

1.4     งานเขียนทางวิชาการ ข้อเสนอแนะของงานวิจัย

1.5     การติดต่อกับผู้ช่วย

1.6     ปัญหาเดิมโดยทำซ้ำ repetition

1.7     ตรวจสอบความถี่

1.8     องกรที่ต้องใช้ผลการวิจัย

1.9     การเลือกปัญหาวิจัย

1.9.1            เป็นปัญหาที่มีความสำคัญเพียงพอ

-          ด้านทฤษฏีองค์ความรู้ใหม่

-          แก้ปัญหาได้ในขอบข่ายที่เหมาะสม

-          เป็นงานวิจัยที่สามารถทำได้

2.นิยามและขอบเขตของปัญหา (Trouble descriptions)

                การตั้งสมมุติฐาน

                วางแผนเลือกกลุ่มตัวอย่างการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล

                การแปรผลวิจัยอย่างเหมาะสม

3.การออกแบบงานวิจัย (Research design)

  3.1  การออกแบบการวิเคราะห์

                3.1.1  สมมุติฐานในการวิจัย (Research Hypothesis)

                3.1.2  ตัวแปรที่ต้องวัด (Variables)

                3.1.3  สถิติหรือเทคนิคที่ใช้ (Statistical or techniques')

  3.2  การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design)

                3.2.1  ตัวแปรที่ต้องวัด (Variables)

                3.2.2  มาตราวัดตัวแปร (Scale)

                3.2.3  การสร้างเครื่องมือวิจัย (Research and tool)

                3.2.4  วิธีการเก็บข้อมูล (Data Collections)

  3.3  การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (Sampling design)

                3.3.1  การกำหนดประชากร (Population)

                3.3.2  การกำหนดเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง Sampling techniques')

                3.3.3  การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง (Sample)

4.การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collections)

ข้อมูลที่ผู้วิจัยจะต้องรวบรวม

4.1     แหล่งของข้อมูล

-          แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources)

-          แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources)

 

4.2     ประเภทของข้อมูล

-          ข้อมูลด้านสติปัญญา (Cognitive Domain)

-          ข้อมูลความรู้สึกนึกคิด คุณค่าและเจตคติ (Affective Domain)

-          ข้อมูลด้านทักษะ (Psychomotor Domain)

4.3     วิธีการให้ได้ข้อมูล

-          โดยใช้เครื่องมือ (Mechanical Device) เช่น นาฬิกาจับเวลา

-          ใช้คนสังเกต (Observation) โดยการสัมภาษณ์ โดยการใช้มาตราส่วนประมาณค่าและอื่นๆ

-          ข้อมูลที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ (Un-observation Method) เช่น ข้อมูลที่มีอยู่แล้วแต่ยังไม่ได้รวบรวม

4.4     ประเภทของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

-          เครื่องมือมาตรฐาน (Standardized measures)

-          การสังเกต Observation

-          การสัมภาษณ์ (Interview)

-          แบบสอบถาม (Questionnaires)

-          แบบทดสอบ (Test)

-          แบบวัดเจตคติ (Attitude Scale)

-          สังคมคติ (Goniometry)

-          การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

5.การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

                การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบจุดมุ่งหมายการวิจัยหรือตอบหัวข้อคำถามซึ่งเป็นไปตามกฎหรือข้อกำหนดตามแบบอย่างเดิมหรืออาจจะเป็นแนวทาวการปฏิบัติใหม่

 

5.สรุปผลงานวิจัยและเขียนรายงานการวิจัย (Summaries content)

                อภิปรายผลและข้อเสนอแนะและเขียนรายงานการวิจัย                                                             

 

                                                                                      

คำสำคัญ (Tags): #1
หมายเลขบันทึก: 251034เขียนเมื่อ 26 มีนาคม 2009 15:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 05:52 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท